- นักเรียนสามารถเตรียมตัวสำหรับ TCAS, GAT, PAT, 9 วิชาสามัญ, การสอบเข้ามหาวิทยาลัย และ ONET และยังสามารถได้รับคะแนนสอบที่ดีจากการสอบที่โรงเรียนอีกด้วย
- ปลดล็อคคลิปทุกคลิป แบบฝึกหัด และฟีเจอร์แบบฝึกหัด
ติว ม.6 เรียนพิเศษ ออนไลน์

ผลตอบรับจากผู้ใช้งานจริง





















ประวัติการไลฟ์สอนยอดนิยม
สามารถกดย้อนดูคลิปที่เคยผ่านการไลฟ์สอนไปแล้ว เพื่อทบทวนอีกครั้ง

ดูได้ทั้ง 4 รายวิชา

2,000+ คลิป และแบบทดสอบกว่า 4,000+ ข้อ
อัพเดทคลิปใหม่ๆ ทุกสัปดาห์ และคุณสามารถดูคลิปอะไรก็ได้ที่คุณต้องการจากเนื้อหาของเรา

บทเรียนแบบโต้ตอบ

แข่งขันกับเพื่อนๆ

กราฟการเรียนรู้

ใช้ได้ทุกอุปกรณ์
บริการของเรา
ทดลองใช้งานฟรี 3 วัน เพื่อเข้าถึงบริการของเราได้แบบไม่จำกัดวิชา!
มีบทเรียนมากกว่า 2,000+ คลิป 4,000+ แบบฝึกหัด และ ดูประวัติการไลฟ์สอน ได้ไม่จำกัด บนทุกอุปกรณ์
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
- บัตรเครดิต
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
- บัตรเครดิต
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร



บทความ ม.6

ศึกษาที่มาของ ขัตติยพันธกรณี บทประพันธ์ที่มาจากเรื่องจริงในอดีต
ขัตติยพันธกรณี เป็นพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 มีที่มาจากเหตุการณ์จริงในประวัติศาสตร์ น้อง ๆ สงสัยกันไหมคะว่าเกี่ยวกับเรื่องไหน เหตุใดพระองค์จึงต้องพระราชนิพนธ์วรรณคดีเรื่องนี้ขึ้นมา เราไปหาคำตอบถึงที่มา ความสำคัญ และเนื้อเรื่องกันเลยค่ะ รับรองว่านอกจากจะได้ความรู้เกี่ยวกับบทประพันธ์แล้ว บทเรียนในวันนี้ยังมีเกร็ดความรู้ทางประวัติศาสตร์ให้น้อง ๆ อีกด้วยค่ะ ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ ที่มาของ ขัตติยพันธกรณี ขัตติยพันธกรณีมีความหมายถึงเหตุอันเป็นข้อผูกพันของกษัตริย์ เป็นพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและตอบกลับโดยสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มีที่มาจากเหตุการณ์จริงในประวัติศาสตร์ ช่วง

Phrasal Verbs
สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.6 ที่รักทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้กันเรื่อง “Phrasal Verbs“ กันนะคะ ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลด ความหมาย Phrasal Verbs Phrasal Verbs คือ คำกริยา โดยเป็นกริยาที่มีคำอื่นๆ อย่างเช่น คำบุพบท (Preposition) ร่วมกันส่วนใหญ่แล้ว Phrasal Verbs จะบอกถึงการกระทำ มักจะเจอในชีวิตประจำวันในสถานการณ์ทั่วไป ไม่เป็นทางการมาก ข้อดีคือจะทำให้ภาษาใกล้เคียงกับเจ้าของภาษามากขึ้นนั่นเองจ้า

ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต ลำดับเลขคณิต คือลำดับที่มีค่าเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างคงที่ โดยจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงนี้เราเรียกว่าผลต่างร่วม แทนด้วยสัญลักษณ์ d โดยที่ d = พจน์ขวา – พจน์ซ้าย การเขียนลำดับเราจะเขียนแทนด้วย โดยที่ คือพจน์ทั่วไปหรือเรียกอีกอย่างว่า พจน์สุดท้ายนั่นเอง การหาพจน์ทั่วไปของลำดับเลขคณิต พจน์ที่1 n = 1