- นักเรียนสามารถได้รับคะแนนสอบที่ดีจากการสอบที่โรงเรียน และสามารถเตรียมตัวในการเริ่มต้นสำหรับการเรียนในระดับชั้นแรกของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
- ปลดล็อคคลิปทุกคลิป แบบฝึกหัด และฟีเจอร์แบบฝึกหัด
ติว ม.4 เรียนพิเศษ ออนไลน์

ผลตอบรับจากผู้ใช้งานจริง





















ประวัติการไลฟ์สอนยอดนิยม
สามารถกดย้อนดูคลิปที่เคยผ่านการไลฟ์สอนไปแล้ว เพื่อทบทวนอีกครั้ง

ดูได้ทั้ง 4 รายวิชา

2,000+ คลิป และแบบทดสอบกว่า 4,000+ ข้อ
อัพเดทคลิปใหม่ๆ ทุกสัปดาห์ และคุณสามารถดูคลิปอะไรก็ได้ที่คุณต้องการจากเนื้อหาของเรา

บทเรียนแบบโต้ตอบ

แข่งขันกับเพื่อนๆ

กราฟการเรียนรู้

ใช้ได้ทุกอุปกรณ์
บริการของเรา
ทดลองใช้งานฟรี 3 วัน เพื่อเข้าถึงบริการของเราได้แบบไม่จำกัดวิชา!
มีบทเรียนมากกว่า 2,000+ คลิป 4,000+ แบบฝึกหัด และ ดูประวัติการไลฟ์สอน ได้ไม่จำกัด บนทุกอุปกรณ์
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
- บัตรเครดิต
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
- บัตรเครดิต
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร



บทความ ม.4

การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย คือ การนำประสบการณ์มาสรุปผล เช่น เราไปซื้อผลไม้แล้วเราชิมผลไม้ 2-3 ลูก ปรากฏว่า มีรสหวาน เราเลยสรุปว่าผลไม้ทั้งกองนั้นหวาน เป็นต้น ซึ่งการสรุปผลอาจจะเป็นจริงหรือเท็จก็ได้ อาจจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้สรุป ดังนั้น ผลสรุปไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน ตัวอย่างเช่น เหตุ เมื่อวานแป้งตั้งใจเรียน วันนี้แป้งตั้วใจเรียน ผลสรุป พรุ่งนี้แป้งจะตั้งใจเรียน การให้เหตุผลแบบนี้ เหมือนเป็นการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นต่อไป ซึ่งการคาดคะเนนี้อาจจะจริงหรือเท็จก็ได้

ความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เกิดจากสิ่งสองสิ่งมาเกี่ยวข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์บางอย่าง เช่น ความสัมพันธ์ของ a กับ b ซึ่ง a มากกว่า b เป็นต้น ก่อนที่เราจะเริ่มเนื้อหาของความสำคัญพี่อยากให้น้องๆรู้จักกับคู่อันดับ และผลคูณคาร์ทีเซียนก่อนนะคะ คู่อันดับ ในการเขียนคู่อันดับเป็นสิ่งที่ค่อนข้างสำคัญเลยทีเดียว เพราะถ้าน้องๆเขียนคู่อันดับผิดตำแหน่งนั่นหมายความว่า ความหมายของมันจะเปลี่ยนไปทันที เช่น คู่อันดับ (x, y) โดย x

เทคนิคการเขียนเรียงความง่าย ๆ ที่จะช่วยถ่ายทอดความคิดให้เป็นขั้นตอน
การเขียนเรียงความ เป็นทักษะการเขียนที่มีสำคัญมาก เพราะเป็นการถ่ายทอดความคิดให้ออกมาอยู่ในรูปของตัวอักษร จะมีวิธีเขียนอย่างไรบ้างนั้น บทเรียนในวันนี้จะทำให้น้อง ๆ มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการเขียนเรียงมากขึ้น จะเป็นอย่างไรนั้น ไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ เรียงความ เป็นทักษะการเขียนที่แสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิด ความเห็น ความเข้าใจของผู้เขียน มีรูปแบบและวิธีการเขียนที่มีแบบแผน เพื่อถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นตัวอักษรให้น่าอ่าน และยังเป็นพื้นฐานของการเขียนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นบทความหรือนวนิยายอีกด้วย โดยประเภทของการเขียนเรียงความมีดังนี้ 1. เรื่องที่เขียนเพื่อความรู้ 2. เรื่องที่เขียนเพื่อความเข้าใจ