ภาษาไทย

จากระดับชั้น ป.4 ถึง ม.6

ทุกๆ เนื้อหาในบทเรียนจะสอนโดยเหล่าคุณครูที่มากประสบการณ์ ดังนั้น คุณสามารถเข้าใจ และสามารถใช้เทคนิคได้เร็วมากขึ้น
ภาษาไทย ครูอุ้ม


ติว ภาษาไทย เรียนพิเศษ ออนไลน์

ประวัติการไลฟ์สอนยอดนิยม

สามารถกดย้อนดูคลิปที่เคยผ่านการไลฟ์สอนไปแล้ว เพื่อทบทวนอีกครั้ง

เกี่ยวกับเนื้อหาของวิชาภาษาไทย

เหล่าคุณครูมืออาชีพสอนในแนวทางที่นักเรียนสามารถสนุกไปกับเนื้อหา แต่ก็เข้าใจได้ง่ายด้วยเช่นกัน ซึ่งนั่นก็เป็นวิชาภาษาไทยของ NockAcademy เหล่านักเรียนสามารถมองถึงเนื้อหา และแก้ไขแบบฝึกหัดในระดับชั้น ป.5 ถึง ม.6 ในทุกๆ หัวข้อ

ผลตอบรับจากผู้ใช้งานจริง

ครูดาวNockAcademy
คณิตศาสตร์
ครูกรีซ NockAcademy
ภาษาอังกฤษ

วิทยาศาสตร์

บริการของเรา

ทดลองใช้งานฟรี 3 วัน เพื่อเข้าถึงบริการของเราได้แบบไม่จำกัดวิชา!
มีบทเรียนมากกว่า 2,000+ คลิป 4,000+ แบบฝึกหัด และ ดูประวัติการไลฟ์สอน ได้ไม่จำกัด บนทุกอุปกรณ์

บทความวิชาภาษาไทย

การใช้คำ

เรียนรู้และทำความเข้าใจการใช้คำในภาษาไทยอย่างง่ายๆ

การใช้คำในภาษาไทย มีความสำคัญมาก แม้ว่าน้อง ๆ จะคุ้นเคยกับภาษาไทยดีในระดับหนึ่งแล้ว แต่แน่ใจหรือเปล่าคะว่าใช้คำกันได้อย่างถูกต้องแล้ว เพราะการใช้คำให้ถูกก็ถือเป็นเรื่องสำคัญค่ะ ดังนั้นบทเรียนหลักภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้เรื่องการใช้คำต่าง ๆ ได้ถูกต้องกันค่ะ จะมีอะไรบ้างไปเรียนรู้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   การใช้คำ     การใช้คำกำกวม   คำกำกวม คือ การใช้คำหรือภาษาที่มีความหมายไม่ชัดเจน เป็นเหตุให้การสื่อสารผิดพลาด

รู้จักอาหารชาววังโบราณผ่านกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน

บทนำ สวัสดีน้อง ๆ ที่น่ารักทุกคน ก่อนที่เราจะเข้าสู่บทเรียนในวันนี้อยากให้น้อง ๆ ทานอาหารกันให้อิ่มก่อน เพราะว่าครั้งนี้เราจะพาไปทำความรู้จักกับอาหารชาววังทั้งของหวานอาหารคาวสารพัดเมนู ในบทเรียนวรรณคดีอันโด่งดังอย่างกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ซึ่งเป็นเรื่องที่น้อง ๆ ชั้นมัธยมศึกษาต้องได้เรียนอย่างแน่นอน รับรองว่าถ้าเรียนเรื่องนี้จบแล้ว น้อง ๆ ทุกคนจะได้รู้จักอาหารโบราณน่าทานอีกหลากหลายเมนูเลย ถ้าพร้อมแล้วเราไปเข้าสู่เนื้อหากันเลยดีกว่า     ประวัติความเป็นมา ก่อนที่เราจะไปทำความรู้จักกับอาหารต่าง ๆ ในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน เราจะขอพาน้อง ๆ

เรียนรู้ตัวบทเด่นของบทละครพูดคำฉันท์เรื่องดัง มัทนะพาธา

มัทนะพาธา เป็นบทละครพูดคำฉันท์ที่ประพันธ์โดยรัชกาลที่ 6 ซึ่งพระองค์ทรงคิดขึ้นเองไม่ได้แปลหรือดัดแปลงมาจากเรื่องใด จากการศึกษาความเป็นมาในบทเรียนคราวที่แล้วทำให้เราได้รู้ที่มา ลักษณะคำประพันธ์รวมไปถึงเรื่องย่อของเรื่องกันไปแล้ว บทเรียนในวันนี้เราจะศึกษาตัวบทเด่น ๆ ของเรื่องกันนะคะว่ามีบทใดที่ได้ชื่อว่าเป็นวรรคทอง ถอดความ พร้อมทั้งเรียนรู้คุณค่าของานประพันธ์ชิ้นนี้อีกด้วย ถ้าน้อง ๆ อยากรู้แล้วเราไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ   ตัวบทเด่น ๆ ใน มัทนะพาธา     ถอดความ บทนี้เป็นคำพูดของฤษีกาละทรรศินที่กำลังอธิบายให้ศุภางค์ แม่ทัพของท้าวชัยเสนว่าเหตุใดพระฤษีจึงเห็นว่าการห้ามปรามความรักระหว่างพระชัยเสนกับมัทนาเป็นสิ่งไร้ประโยชน์ โดยบอกว่า