การวัดปริมาตรและน้ำหนัก

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้หน่วยที่ใช้ในการวัดปริมาตร และน้ำหนักที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย อีกทั้งยังมีมาตรฐาน ซึ่งแต่ละหน่วยล้วนแต่มีความสัมพันธ์กัน
การวัดปริมาตรและน้ำหนัก

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

บ่อยครั้งที่เรามักสับสนกับหน่วยต่าง ๆ มากมาย เช่น หน่วยของความยาว ซึ่งมีทั้งเซนติเมตร นิ้ว ฟุต หรือหน่วยของพื้นที่ ซึ่งมีทั้งตารางวา ตารางเมตร ไร่ หรือหน่วยของปริมาตร ซึ่งมีทั้งลูกบาศก์เซนติเมตร ออนซ์ ลิตร แล้วพื้นที่ 1 ไร่มีกี่ตารางเมตรล่ะ? ซึ่งหน่วยเหล่านี้ถูกแบ่งแยกเป็นกลุ่มตามระบบเมตริก อเมริกัน-อังกฤษ และไทย โดยสามารถเทียบเคียงเพื่อแปลงหน่วยในการนำไปใช้ประโยชน์ในสถานการณ์และความต้องการที่แตกต่างกันไปได้ ซึ่งจะทำให้เราทราบได้ว่าปริมาตร 1 ลิตร มีกี่ลูกบาศก์เซนติเมตรเป็นต้น

การวัดปริมาตรและน้ำหนัก

1.การวัดปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

เนื่องจากหน่วยการวัดปริมาตรเป็นลูกบาศก์หน่วย โดยหน่วยหมายถึง หน่วยความยาวของสิ่งที่เราวัดนั้นๆ เช่น

1. การวัดปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

2.หน่วยการวัดปริมาตรและหน่วยการวัดน้ำหนัก

เนื่องจากหน่วยการวัดปริมาตรมีกันมาตั้งแต่โบราณจึงมีการใช้กันอยู่บ้างตามความนิยมหน่วยการวัดปริมาตรที่ควรรู้จักมีดังนี้

2.1 หน่วยวัดปริมาตรในระบบเมตริก

1 ลูกบาศก์เซนติเมตร = 1,000 ลูกบาศก์มิลลิลิตร

1 ลูกบาศก์เมตร = 1,000,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร

1 ลูกบาศก์เซนติเมตร = 1 มิลลิลิตร

1 ลิตร =  1,000 มิลลิลิตร= 1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร

1,000 ลิตร = 1 ลูกบาศก์เมตร

2.2 หน่วยวัดปริมาตรในระบบอังกฤษ

3 ช้อนชา = 1 ช้อนโต๊ะ

16 ช้อนโต๊ะ = 1 ถ้วยตวง

1 ถ้วยตวง = 8 ออนซ์

2.3 การเทียบปริมาตรระหว่างระบบอังกฤษกับเมตริก

1 ช้อนชา = 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร

1 ถ้วยตวง = 240 ลูกบาศก์เซนติเมตร

2.4 หน่วยการตวงแบบไทย

1 เกวียน = 100 ถัง

1 ถัง = 20 ลิตร

2.5 หน่วยการตวงแบบไทยเทียบกับระบบเมตริก

ข้าวสาร 1 ถังมีน้ำหนัก 15  กิโลกรัม

ข้าวสาร 1 กระสอบมีน้ำหนัก 100 กิโลกรัม

2.6 หน่วยวัดน้ำหนักในมาตราเมตริก

1,000 มิลลิกรัม = 1 กรัม

1,000 กรัม = 1 กิโลกรัม

2.7 หน่วยวัดน้ำหนักในมาตราไทย

4 ไพ  = 1 เฟื้อง

2 เฟื้อง = 1 สลึง

4 สลึง = 1 บาท

4 บาท = 1 ตำลึง

20 ตำลึง = 1 ชั่ง

ตัวอย่าง มีน้ำผลไม้อยู่ 1 กล่อง ขนาด 2 ลิตร และมีน้ำหนักสุทธิ 67.62 ออนซ์ ถ้าแบ่งน้ำผลไม้ใส่แก้วให้แต่ละแก้วมีจำนวน 200 มิลลิลิตรจะได้น้ำผลไม้หนักแก้วละกี่ออนซ์

ตัวอย่างวัดปริมาตร

ตัวอย่าง ผงซักฟอกกล่องหนึ่งมีขนาดกล่องกว้าง 18 เซนติเมตรยาว 20 เซนติเมตรสูง 25 เซนติเมตรมีผงซักฟอกบรรจุอยู่ 3ส่วน4 ของกล่อง ราคากล่องละ 188 บาทถ้านำออกมาใช้ครั้งละ 3 ลูกบาศก์เซนติเมตรจะเป็นการนำออกมาใช้ครั้งละกี่บาท

วัดปริมาตรและน้ำหนัก

ตัวอย่างคลิปวิดีโอเรื่องการวัดปริมาตรและน้ำหนัก

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

งานอดิเรก (Hobbies) ในยุคปัจจุบัน

  ในปัจจุบันงานอดิเรก (Hobbies) นอกจากจะเป็นสิ่งที่ทำให้เราสนุกแล้วยังสามารถเพิ่มพูนทักษะใหม่ๆ  ให้เราได้อีกด้วย  หากมีใครก็ตามถามว่า what do you like to do in your free time? คุณชอบทำอะไรในเวลาว่าง ครูเชื่อว่านักเรียนจะต้องมีหลายคำตอบ เพราะปัจจุบันมีหลายสิ่งหลายอย่างให้ทำเยอะมาก แต่เหนือสิ่งอื่นใด งานอดิเรกนั้นต้องทำให้เราสนุกและมีความสุขกับการได้ทำมันแน่ๆ “Do what you love,

มงคลสูตรคำฉันท์ ตัวบท

ศึกษาตัวบทที่น่าสนใจในวรรณคดีเรื่องมงคลสูตรคำฉันท์

บทนำ สวัสดีน้อง ๆ ที่น่ารักทุกคนกลับมาพบกับบทเรียนภาษาไทยที่น่าสนใจกันอีกเช่นเคย ต่อจากครั้งก่อนที่เราได้เรียนประวัติความเป็นมา เรื่องย่อ และลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีพระพุทธศาสนาเรื่องมงคลสูตรคำฉันท์ไปแล้ว วันนี้เราจะมาเรียนกันต่อในส่วนที่เป็นตัวบทสำคัญ โดยจะยกตัวบทที่มีความน่าสนใจพร้อมกับถอดความมงคลทั้ง 38 ประการว่ามีอะไรบ้าง  ดังนั้น ถ้าน้อง ๆ คนไหนพร้อมแล้วก็มาเข้าสู่เนื้อหาไปพร้อม ๆ กันเลย     ประวัติความเป็นมา สำหรับประวัติความเป็นมาของเรื่องมงคลสูตรคำฉันท์มาจากการที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือรัชกาลที่ 6 ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาจึงได้ถอดความอุดมมงคล 38

Suggesting Profile

สำนวนการเสนอ การขออนุญาต และขอความช่วยเหลือ

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม. 4 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปตะลุย “สำนวนการเสนอ การขออนุญาต และขอความช่วยเหลือ พร้อมทั้งเทคนิคการพูดตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจร้า สำนวนการเสนอ   ในชีวิตประจำวันของเรานั้น ล้วนจะต้องเจอกลุ่มประโยคคำถามในเชิงชักชวน และการเสนอแนะที่ใช้เป็นรูปแบบคำถามนั้นถือเป็นการเสนอแนะชักชวนทางอ้อม ถ้าเทียบกับนิสัยคนไทยแล้ว ก็เพื่อแสดงถึงความเกรงใจ ไม่พูดมาตรงๆ เพื่อจุดประสงคืบางอย่าง ซึ่งเป็นนิสัยที่คนไทยส่วนใหญ่มีอยู่แล้ว ในภาษาอังกฤษการใช้ภาษาเหล่านี้จะทำให้การสนทนาดูเป็นธรรมชาติและคล่องมากขึ้น โดยที่บางครั้งผู้ถามนั้นหว่านล้อมผู้ฟังด้วยการ ชวนให้ทำ หรือแนะนำให้ทำนั่นเอง ประโยคคำถามที่ใช้มีดังนี้  

การคูณเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

การคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

บทความนี้ ได้รวบรวมตัวอย่าง การคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก ซึ่งทำได้โดยการใช้สมบัติการคูณของเลขยกกำลัง ทั้งสามสมบัติ ก่อนจะเรียนเรื่องการคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก ให้น้องๆ ไปศึกษาเรื่อง การเขียนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก การคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก สมบัติของการคูณเลขยกกำลัง  ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ m และ n เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว  1)   am x an

สามัคคีเภทคำฉันท์

สามัคคีเภทคำฉันท์ วรรณคดีขนาดสั้นที่ว่าด้วยความสามัคคี

สามัคคีเภทคำฉันท์ เป็นนิทานสุภาษิตขนาดสั้นว่าด้วยเรื่องความสามัคคี เป็นอีกหนึ่งวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี ทั้งด้านการประพันธ์และเนื้อหา เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น บทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกับวรรณคดีเรื่องดังกล่าวเพื่อศึกษาที่มา จุดประสงค์ รวมไปถึงเรื่องย่อ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลยค่ะ   ที่มาของเรื่องและจุดประสงค์ในการแต่ง   สามัคคีเภทคำฉันท์ ดำเนินเรื่องโดยอิงประวัติศาสตร์ครั้งพุทธกาล เป็นนิทานสุภาษิตในมหาปรินิพพานสูตรและอรรถกถาสุมังคลวิลาสินี     ในสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดวิกฤตการณ์ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เช่น เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1

should have

I Should Have Done It! โครงสร้างประโยค “รู้งี้”

สวัสดีน้องๆ ม. 6 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับหลักไวยากรณ์เล็กๆ น้อยๆ ที่ได้ใช้ประโยชน์มากๆ นั่นคือเรื่องการใช้ should have + past participle นั่นเองครับ จะเป็นอย่างไรลองไปดูกันเลยครับ

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1