เรียนรู้เรื่อง ภาษาบาลี สันสกฤต ที่อยู่ในภาษาไทย

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

 ภาษาบาลี สันสกฤต เป็นภาษาอินเดียโบราณ คำบาลี สันสกฤตที่นำมาใช้ในไทยจึงมักจะอยู่ในบทสวดเป็นส่วนใหญ่ แต่น้อง ๆ ทราบไหมคะว่าที่จริงแล้วนอกจากจะอยู่ในบทสวดมนต์ ภาษาไทยก็ยังมีอีกหลายคำเลยค่ะที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต เรียกได้ว่าถูกใช้ปนกันจนบางครั้งก็อาจทำให้เราสับสนไปได้ว่าสรุปนี่คือคำจากบาลี สันสกฤตหรือไทยแท้กันแน่ บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปทำความเข้าใจ เจาะลึกลักษณะภาษาพร้อมบอกทริคการสังเกตง่าย ๆ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลยค่ะ

 

ความเป็นมาของภาษาบาลี สันสกฤตในประเทศไทย

 

ภาษาบาลี สันสกฤต

 

การยืมภาษา เป็นผลมาจากการรับเอาวัฒนธรรมของชนชาติอื่นเข้ามาแล้วปรับใช้ในชาติตนเอง การยืมภาษาของไทยนั้นถึงเป็นเสมือนร่องรอยทางประวัติศาสตร์ชั้นดี การยืมภาษาบาลี สันสกฤตในไทยนั้นไม่ปรากฏแน่ชัดว่าเริ่มใช้ในปีไหน หรือใครเป็นคนนำเข้ามา แต่ก็พบว่ามีการหยิบยืมคำจากภาษาดังกล่าวมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ดังที่ปรากฏในศิลาจารึก ด้วยเหตุนี้จึงเป็นเหตุที่ผลที่ทำไมภาษาบาลี สันสกฤตจึงเป็นภาษาต่างประเทศที่ถูกหยิบมาปรับใช้มากที่สุดในภาษาไทย

 

หลักการสังเกตภาษาบาลี สันสกฤต

 

 

1. ภาษาบาลีจะใช้สระอะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ แต่ภาษาสันสกฤต จะเพิ่มตัวฤ ฤา ฦา ไอ เอา มาด้วย

2. ภาษาบาลีจะใช้ตัว ส เป็นส่วนใหญ่ เช่น สันติ วิสาสะ ในขณะที่ภาษาสันสกฤตจะเน้นใช้ตัว ศ หรือ ษ เช่น ศิษย์ ศีรษะ

3. ฬ จะอยู่ในคำที่เป็นภาษาบาลี เช่น จุฬา กีฬา แต่ถ้าเป็นภาษาสันสกฤต จะใช้ตัว ฑ เช่น กรีฑา ครุฑ

4. ภาษาบาลีไม่นิยมใช้คำควบกล้ำ เวลาอ่านก็จะอ่านเรียงตามตัวอักษร เช่น คำว่า ภริยา ก็จะอ่านออกเสียงได้ว่า (พะ-ริ-ยา) ส่วนพวกคำควบกล้ำจะอยู่ในภาษาสันสกฤต เช่น เปรม อ่านออกเสียงว่า เปม โดยจะออกเสียงควบกล้ำ ปร

5. ภาษาบาลีจะใช้พยัญชนะสะกดและตัวตามตัวเดียวกัน เช่น วัณณ ธัมม ส่วนภาษาสันสกฤตจะใช้ตัว รร แทน เช่น ธรรม สรรพ วรรณ

6. ภาษาบาลีมีหลักตัวสะกดที่แน่นอนแต่สันสกฤตไม่มี

 

หลักตัวสะกดตัวตามของภาษาบาลี

 

ภาษาบาลี สันสกฤต

 

หลักตัวสะกดตัวตามสำหรับดูว่าคำไหนมาจากภาษาบาลี วิธีดูก็ง่ายแสนง่าย คือดูว่าคำไหนมีตัวที่ต่อกันตามหลักในตารางก็หมายความว่าเป็นคำที่มาจากภาษาบาลี เช่น พยัญชนะแถวที่ 1 เป็นตัวสะกด ตัวที่ตามหลังมาก็ต้องอยู่ในแถว 1 กับ 2 หรือถ้าเป็นพยัญชนะแถวที่ 5 ตัวที่จะตามหลังได้ก็คือพยัญชนะแถวที่ 1-5 ในวรรคเดียวกัน

 

การยืมคำภาษาบาลี สันสกฤต

 

1. คำศัพท์ที่เกี่ยวกับศาสนา

2. ชื่อและนามสกุลคนไทยส่วนใหญ่ในปัจจุบันมักเป็นภาษาบาลี สันสกฤต

3. ศัพท์ในวรรณคดี

4. คำราชาศัพท์ คำสุภาพ

5. ศัพท์วิชาการ

 

ภาษาไทยที่ยืมคำมาจากบาลี สันสกฤตทั้งคู่ แต่นำมาใช้คนละความหมาย

ตัวอย่าง

ภาษาบาลี กีฬา หมายถึง การแข่งขัน การออกกำลังกาย

ภาษาสันสกฤต กรีฑา หมายถึง การแข่งขันประเภทลู่

 

ภาษาไทยที่ยืมคำมาจากภาษาบาลี สันสกฤตแต่เปลี่ยนความหมายไปจากเดิม

 

 

จบไปแล้วนะคะ สำหรับบทเรียนภาษาไทยในวันนี้ เป็นเรื่องของคำจาก ภาษาบาลี สันสกฤต ที่เราคุ้นเคยกันอยู่แล้ว ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ ถ้าทบทวนและทำแบบฝึกหัดบ่อย ๆ ก็จะสามารถจำหลักในการสังเกตได้เองค่ะ สุดท้ายนี้เพื่อให้น้อง ๆ ได้เข้าใจมากขึ้น อย่าลืมไปชมคลิปการสอนสนุก ๆ จากครูอุ้มนะคะ ในคลิปครูอุ้มได้ยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำคู่ไว้ รับรองว่าได้ความรู้และความสนุกเพลิดเพลินอย่างแน่นอนค่ะ

 

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

NokAcademy_ม2 การใช้ Future Simple กับการตั้งคำถามด้วย Wh-Questions

การใช้ Future Simple กับการตั้งคำถามด้วย Wh-Questions

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.2 ทุกคน วันนี้ครูจะพาไปตะลุย “การใช้  Future Simple กับการตั้งคำถามด้วย Wh-Questions” หากพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจร้า Future Simple Tense     Future Simple Tense หรือ ประโยคอนาคตกาล เอาไว้พูดถึงเรื่องราวในอนาคต เช่น สิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น สิ่งที่จะเกิดขึ้น สิ่งที่จะทำ เป็นต้น

โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

บทความนี้ได้รวบรวม โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ไว้หลากหลายตัวอย่าง ซึ่งแสดงวิธีคิดอย่างละเอียด สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย แต่ก่อนที่น้องๆจะได้เรียนรู้การแก้อโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว น้องๆสามารถทบทวน อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเพิ่มเติมได้ที่  ⇒⇒ แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ⇐⇐ ในการแก้ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จะต้องใช้สัญลักษณ์ของอสมการแทนคำเหล่านี้ <   แทนความสัมพันธ์น้อยกว่า หรือไม่ถึง >   แทนความสัมพันธ์มากกว่า หรือเกิน ≤   แทนความสัมพันธ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ หรือไม่เกิน ≥  แทนความสัมพันธ์มากกว่าหรือเท่ากับ

เพลงชาติไทย สัญลักษณ์ของความรักชาติที่ถูกถ่ายทอดผ่านบทเพลง

‘ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย’ เชื่อว่าพอขึ้นต้นด้วยประโยคนี้ จะต้องมีน้อง ๆ หลายคนอ่านเป็นทำนองแล้วร้องต่อในใจแน่นอนว่า ‘เป็นประชารัฐ ไผทของไทยทุกส่วน’ เพราะนี่คือ เพลงชาติไทย ที่เราได้ยินตอนแปดโมงเช้ากับหกโมงเย็นของทุกวันนั่นเองค่ะ บทเรียนในวันนี้เราจะมาเจาะลึกถึงความเป็นมา และความหมายของเพลงชาติไทยกันค่ะ มาดูพร้อมกันเลย   ประวัติความเป็นมาของ เพลงชาติไทย     ก่อนที่จะมีเพลงชาติไทย ประเทศไทยใช้เพลงสรรเสริญพระบารมีที่เป็นเพลงประจำองค์พระมหากษัตริย์ เป็นเพลงประจำชาติ จนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.

การใช้ Quantity words

การใช้ Quantity words

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.1 ทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้ “การใช้ Quantity words ” ในภาษาอังกฤษกันค่ะ Let’s go! ไปลุยกันโลด Quantity words คืออะไร “Quantity words” คือคำบอกปริมาณนั่นเอง เช่น much, many, few, a few, lots

โคลงโลกนิติ

ศึกษาตัวบทและคุณค่าที่แฝงอยู่ในโคลงโลกนิติ

หลังจากที่ได้เรียนรู้ความเป็นมาและเนื้อหาในโคลงโลกนิติกันแล้ว น้อง ๆ ก็คงจะอยากรู้กันแล้วใช่ไหมคะว่าตัวบทในโคลงโลกนิติที่มีอยู่มากมายนั้น มีตัวบทไหนที่เด่น ๆ กันบ้าง วันนี้เรามาศึกษาตัวบทที่น่าสนใจเพื่อทำความเข้าใจถึงคติธรรมและคุณค่าที่อยู่ในเรื่องกันค่ะ โคลงโลกนิติ โคลงโลกนิติเป็นบทประพันธ์ที่มีคำสอนมากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการคบเพื่อน การปฏิบัติตัวกับพ่อแม่ หรือแม้แต่การดำเนินชีวิตในแต่ละวัน เรามาดูตัวบทเด่น ๆ ที่ควรรู้กันทีละบทเลยนะคะว่าแต่ละบทสอนเรื่องอะไรบ้าง   ศึกษาตัวบท     ความหมาย กล่าวถึงปลาร้าที่มีกลิ่นเหม็น และใบคา แม้ใบคาจะเป็นใบไม้ที่ไม่มีกลิ่นเฉพาะตัว แต่เมื่อนำไปห่อปลาร้าก็จะทำให้มีกลิ่นเหม็นจากปลาร้าติดไปด้วย

การเขียนแนะนำความรู้

เขียนแนะนำความรู้อย่างไรให้น่าอ่าน แค่ทำตามหลักการต่อไปนี้

บทนำ สวัสดีน้อง ๆ ทุกคน ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนภาษาไทย วันนี้เราได้เตรียมสาระความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียนมาให้น้อง ๆ ได้นำไปใช้ประโยชน์กัน โดยเนื้อหาที่เราจะมาเรียนในวันนี้จะเป็นเรื่องของการเขียนเพื่อแนะนำความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้อ่าน ซึ่งเราจะมาทำความเข้าใจหลักการง่าย ๆ ที่จะนำไปใช้ในการเขียนให้ความรู้ผู้อื่น โดยที่น้อง ๆ สามารถนำไปใช้ในการเรียนวิชาอื่น ๆ ได้ หรือใช้กับการเรียนในระดับที่สูงขึ้นได้เลย เป็นพื้นฐานการเขียนที่เด็ก ๆ ทุกคนควรได้รับการฝึกฝนจะได้นำไปเขียนได้อย่างถูกต้อง ถ้าพร้อมแล้วเราไปเข้าสู่บทเรียนวันนี้กันเลยดีกว่า    

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1