เรียนรู้ความเหมือนที่แตกต่างของคำพ้อง

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

 

น้อง ๆ หลายคนคงจะเคยเห็นฝาแฝดกันมาบ้างใช่ไหมคะ แล้วรู้หรือเปล่าคะว่าในภาษาไทยเรานั้นก็มีฝาแฝดเหมือนกัน แต่ฝาแฝดนั้นถูกเรียกว่า คำพ้อง นั่นเองค่ะ หลายคำในภาษาไทยมีจุดที่เหมือนกันแต่ก็มีส่วนที่ต่างกันออกไปด้วย เพื่อไม่ให้สับสนว่าคำไหนคือคำไหน อ่านอย่างไร หมายความว่าอะไรกันแน่ วันนี้เราไปเรียนรู้เรื่องคำพ้องพร้อม ๆ กันเลยค่ะ

 

คำพ้อง

 

ความหมายของคำพ้อง

 

 

ประเภทของคำพ้อง

 

 

คำพ้องเสียง

คำพ้องเสียง หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนและมีความหมายไม่เหมือนกัน

 

คำพ้อง

 

ตัวอย่างประโยค

ฉันทำที่คั่นหนังสือตกไว้ตรงขั้นบันได

วันศุกร์แล้วฉันมีความสุขมาก

น้องสาวฉันหน้าตาน่ารัก

 

คำพ้องรูป

คำพ้องรูป หมายถึง คำที่เขียนเหมือนกันแต่อ่านออกเสียงและมีความหมายไม่เหมือนกัน

 

คำพ้อง

 

ข้อสังเกต

นอกจากจะมีคำพ้องรูปและพ้องเสียงแล้ว บางคำในภาษาไทยยังเป็นคำที่มีพ้องรูปและพ้องเสียงในคำเดียวแต่มีความหมายต่างออกไป

ตัวอย่างพ้องรูปพ้องเสียงที่มีความหมายต่างกัน

ฟัน หมายถึง ใช้ของมีคมฟาดลงไป และหมายถึง กระดูกซี่ ๆ ที่อยู่ในปาก

ขัน หมายถึง ภาชนะที่ใช้ตักน้ำ เสียงร้องของไก่ และการทำให้แน่น เช่น ขันนอตให้แน่น

 

คำพ้องความหมาย

คำพ้องความหมาย หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า คำไวพจน์ เป็นคำที่เขียนและอ่านออกเสียงไม่เหมือนกันแต่มีความหมายเหมือนกัน

 

ตัวอย่างคำไวพจน์

 

คำพ้อง

 

ชัฏ, ดง, พง, พงพนา, พงพี, พงไพร, พนัส, พนา, พนาดร, พนาลี, พนาวัน, อรัญญิก, อารัญ, อารัณย์, เถื่อน, ไพร, ไพรวัน, ไพรสัณฑ์

 

คำพ้อง

 

คคนางค์, คคนานต์, ทิฆัมพร, นภดล, นภา, นภาลัย, หาว, อัมพร, อากาศ, เวหา, เวหาศ, โพยม

 

 

คีรี, นคะ, นคินทร์, บรรพต, พนม, ภู, ภูผา, ศิขริน, ศิงขร, สิงขร, ไศล

 

 

ดุรงค์, พาชี, มโนมัย, สินธพ, อัศว, อัศวะ, อัสดร, อาชา, แสะ

 

 

ทวิช, ทวิชาชาติ, ทิชากร, ทิชาชาติ, บุหรง, ปักษา, ปักษิณ, ปักษี, วิหค, สกุณ, สกุณา, สกุณี, สุโนก

 

คำพ้อง

 

บุปผชาติ, บุปผา, บุษบง, บุษบัน, บุษบา, บุหงา, ผกา, ผกามาศ, มาลา, มาลี, สุคันธชาติ, สุมาลี, โกสุม

 

คำพ้อง

 

คงคา, ชลธาร, ชลธี, ชลาลัย, ชลาศัย, ชโลทร, นที, รัตนากร, สมุทร, สาคร, สาคเรศ, สินธุ, สินธุ์, อรรณพ

 

คำพ้อง

 

เป็นอย่างไรบ้างคะน้อง ๆ หลังจากที่ได้เรียนรู้เรื่องคำพ้องไปแล้ว คำพ้องมีความสำคัญมาก เพราะถ้าเราใช้ผิด ความหมายก็จะผิดไปเลย ดังนั้น น้อง ๆ ต้องหมั่นทบทวนเพื่อไม่ให้จำสลับกันนะคะ สุดท้ายนี้อย่าลืมไปรับชมและรับฟังคลิปการสอนของครูอุ้มระหว่างทบทวนเนื้อหา เพื่อพิชิตทุกโจทย์ในข้อสอบ ไปดูกันเลยค่ะ

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

ารบวก-ลบ-คูณ-หารจำนวนเต็ม

การบวก ลบ คูณ หารจำนวนเต็ม

บทความนี้จะทำให้น้องๆ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การบวก ลบ คูณ หารจำนวนเต็ม มากยิ่งขึ้น ซึ่งได้รวบรวมตัวอย่างไว้อย่างหลากหลายและอธิบายไว้อย่างละเอียด โดยก่อนที่น้องๆจะเรียนเรื่องนี้จะต้องเรียนรู้เรื่อง จำนวนตรงข้าม และ ค่าสัมบูรณ์ เพื่อใช้ในการบวก ลบ จำนวนเต็ม ซึ่งมีวิธีการดังตัวอย่างต่อไปนี้ การบวกจำนวนเต็ม การบวกจำนวนเต็มบวก โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ให้น้องๆทบทวนการหาค่าสัมบูรณ์ ดังนี้ |-12|=   12 |4|=   4

การเปลี่ยนแปลงของประโยค

การเปลี่ยนแปลงของประโยค ศึกษาธรรมชาติของภาษาที่ยังไม่ตาย

ภาษาเป็นกลไกสำคัญที่จะต้องเปลี่ยนแปลงควบคู่ไปกับสังคมมนุษย์ คำและประโยคในทุกภาษาอาจเปลี่ยนแปลงหรือหายไปพร้อมกับความเจริญและเสื่อมของสังคมตามยุคสมัย ภาษาที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจะถูกนับเป็นภาษาที่ตายแล้ว ภาษาไทยเป็นอีกภาษาหนึ่งที่ยังคงมีความเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ บทเรียนในวันนี้เราจะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของประโยค หนึ่งในเรื่องราวที่น่าสนใจของเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางภาษา จะมีอะไรบ้างนั้น เราไปเรียนรู้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   การเปลี่ยนแปลงทางภาษา     ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภาษา   1. เกิดจากปัจจัยทางสังคม   2. ลักษณะการออกเสียงของผู้พูด ในบางครั้งผู้พูดจะไม่สามารถออกเสียงคำได้อย่างถูกต้องทุกคำ

การบวกและการลบเอกนาม

การบวกและการลบเอกนาม บทความนี้จะทำให้น้องๆ รู้จักเอกนามและเข้าใจวิธีการบวกลบเอกนามได้อย่างง่ายดาย ซึ่งได้รวบรวมตัวอย่างการบวกและการลบเอกนามมานำเสนออกในรูปแบที่เข้าใจง่าย ทำให้น้องๆสนุกกับการเรียนคณิตศาสตร์ ซึ่งเนื้อหาในบทความนี้เป็นเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เอกนาม เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยเลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มบวก ค่าคงตัว คือ ตัวเลข ตัวแปร คือ สัญลักษณ์ของข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงได้ มักเขียนอยู่ในรูปสัญลักษณ์ x, y เอกนาม ประกอบด้วย 2

กาพย์พระไชยสุริยา ศึกษาตัวบทที่น่าสนใจและคุณค่าที่อยู่ในเรื่อง

กาพย์พระไชยสุริยา   กาพย์พระไชยสุริยาเป็นวรรณคดีที่ทรงคุณค่า เป็นแบบเรียนภาษาไทยที่มีมาแต่โบราณ นอกจากนี้ยังสอนเรื่องราวต่าง ๆ อีกมากมาก หลังจากที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ลักษณะคำประพันธ์และเนื้อเรื่องกันไปแล้ว เรื่องต่อไปที่น้อง ๆ จะได้เรียนรู้ก็คือตัวบทเด่น ๆ ที่น่าสนใจในเรื่องกาพย์พระไชยสุริยาค่ะ เรามาดูกันดีกว่านะคะว่าในกาพย์พระไชยสุริยาจะมีตัวบทไหนเด่น ๆ และมีคุณค่าอย่างไรบ้าง   ตัวบทที่น่าสนใจในกาพย์พระไชยสุริยา   ลักษณะคำประพันธ์ : กาพย์สุรางคนางค์ 28  

การแก้สมการกำลังสอง

การแก้สมการกำลังสอง

การแก้สมการกำลังสอง การแก้สมการกำลังสอง สามารถทำได้โดยการ แยกตัวประกอบพหุนามกำลังสอง และใช้สูตร เราแก้สมการเพื่อหาคำตอบหรือหาค่าของตัวแปร ในบทความนี้พี่จะพูดถึงสมการกำลังสองตัวแปรเดียว ซึ่งอยู่ในรูป ax² + bx + c = 0 โดยที่ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a ≠ 0 ตัวอย่างสมการกำลังสองตัวแปรเดียว 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1