การหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

การหารเลขยกกำลัง

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

การหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

บทความนี้ ได้รวบรวมตัวอย่าง การหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก ซึ่งทำได้โดยการใช้สมบัติการหารของเลขยกกำลัง ก่อนจะเรียนรู้ ตัวอย่างการหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก น้องๆจำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่อง การคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่  ⇒⇒ การคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก ⇐⇐

สมบัติของการหารเลขยกกำลัง 

am ÷ an  = am –    (ถ้าเลขยกกำลังฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

เมื่อ a เป็นจำนวนใดๆ m และ n เป็นจำนวนเต็มบวก ซึ่งแบ่งเป็น 3 กรณี ดังนี้

กรณีที่ 1  m > n  ( am ÷ an  = am – n  )

(เลขชี้กำลังของตัวเศษมากกว่าตัวส่วน)

ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลลัพธ์ของจำนวนต่อไปนี้

1)   7⁴ ÷ 7²  =  7⁴ ⁻ ²    (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  7²

2)   (-15)⁶ ÷ (-15)³  =  (-15)⁶ ⁻ ³  (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

= (-15)³  

3)   (¼)⁷ ÷ (¼)  =  (¼)⁷   (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

= (¼)³

4)    \frac{3^{11}}{3^{5}}  =  3¹¹⁻   (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

= 3⁶

5)    \frac{\left (0.8 \right )^{6}}{\left (0.8 \right )^{2}}  =  (0.8)⁶ ⁻ ²  (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

= (0.8)⁴ 

กรณีที่ 2  m = n  ( am ÷ an  = am – n  และ  a⁰ = 1 )

(เลขชี้กำลังของตัวเศษเท่ากับตัวส่วน)

ตัวอย่างที่ 2  จงหาผลลัพธ์ของจำนวนต่อไปนี้

1)   8⁴ ÷ 8⁴  =  8⁴ ⁻ ⁴     (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  8⁰            (a⁰ = 1)

=  1

2)   3¹¹ ÷ 3¹¹  =  3¹¹¹¹     (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  3⁰            (a⁰ = 1)

=  1

3)   (¾)⁵ ÷ (¾)⁵  =  (¾)⁵ ⁻ ⁵   (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  (¾)⁰            (a⁰ = 1)

=  1

4)    \frac{7^{3}}{7^{3}}   =  7³ ⁻ ³   (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  7⁰            (a⁰ = 1)

=  1

5)    \frac{\left (0.5 \right )^{9}}{\left (0.5 \right )^{9}}  =  (0.5)⁹      (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

(0.5)⁰            (a⁰ = 1)

=  1

กรณีที่ 3  m < n   ( am ÷ an  = am – n  และ  a= ¹⁄aⁿ )

(เลขชี้กำลังของตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน)

ตัวอย่างที่ 3  จงหาผลลัพธ์ของจำนวนต่อไปนี้

1)   71¹³ ÷ 71¹⁵  =  71¹³ ¹⁵       (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

71⁻²                       ( a= ¹⁄aⁿ )

\frac{1}{71^{2}}

2)   (1.2)¹ ÷ (1.2)  =  (1.2)¹        (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

(1.2)⁻⁴                         ( a= ¹⁄aⁿ )

= \frac{1}{\left (1.2 \right )^{4}}

3)   (0.8)³ ÷ (0.8)  =  (0.8)³ ⁻ ⁶      (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  (0.8)³                       ( a= ¹⁄aⁿ )

\frac{1}{\left (0.8 \right )^{3}}

4)  \frac{6^{9}}{6^{13}}  =  6⁹ ¹³       (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  6                        ( a= ¹⁄aⁿ )

= \frac{1}{6^{4}}

5)  \frac{\left (9.4 \right )^{6}}{\left (9.4 \right )^{10}}   =  (9.4)⁶ ¹⁰       (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  (9.4)⁻                         ( a= ¹⁄aⁿ )

= \frac{1}{\left (9.4 \right )^{4}}

เมื่อน้องๆเรียนรู้เรื่อง การหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก ซึ่งจากสมบัติของการหารเลขยกกำลังจะพบว่า ารหารเลขยกกำลังที่มีฐานเดียวกัน ต้องนำเลขชี้กำลังมาลบกัน เมื่อน้องๆ ได้ศึกษาจากตัวอย่างหลายๆตัวอย่าง ทำให้น้องๆ สามารถคูณเลขยกกำลัง ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ

คลิปวิดีโอ การหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

        คลิปวิดีโอนี้ได้รวบรวม การหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก โดยแสดงวิธีคิดไว้อย่างละเอียด ซึ่งเป็นคลิปสั้นๆ ที่สามารถเข้าใจได้ง่าย แฝงไปด้วยสาระความรู้ และเทคนิค รวมถึงการอธิบาย ตัวอย่าง และสอนวิธีคิดที่จะทำให้วิชาคณิตศาสตร์เป็นเรื่องง่าย

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

การโต้วาที

โต้วาที และยอวาที แต่งต่างกันอย่างไร?

การพูดมีมากมายหลายประเภท แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้พูดว่าต้องการจะสื่อสารออกมาในรูปแบบใด แต่จะมีอยู่ประเภทหนึ่งที่มีหัวข้อให้พูดและต้องแบ่งออกเป็นสองฝ่าย โดยไม่ได้มีเจตนาเพื่อมาทะเลาะกัน เพราะเรากำลังหมายถึงการพูดโต้วาทีและการยอวาที ที่เป็นการพูดแสดงความคิดเห็นในลักษะที่ต่างกัน แต่จะต่างกันอย่างไรบ้างนั้น เราไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ   การโต้วาที     การโต้วาที เป็นการแสดงความคิดเห็นโต้แย้งด้วยเหตุผลเพื่อให้ชนะอีกฝ่าย โดยจะแบ่งผู้พูดออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายญัตติและฝ่ายคัดค้านญัตติ และมีกรรมการคอยตัดสินว่าจะให้ฝ่ายใดชนะ โดยแต่ละฝ่ายจะต้องมีข้อมูลเพื่อมาสนับสนุนการพูดของตัวเอง หักล้างแนวคิดของอีกฝ่ายและต้องมีปฏิภาณไหวพริบ   องค์ประกอบของการโต้วาที  

การใช้ Quantity words

การใช้ Quantity words เช่น many/ much/ a lot of/ lots of and etc.

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.2 ทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้ “การใช้ Quantity words เช่น many/ much/ a lot of/ lots of and etc. ” ในภาษาอังกฤษกันค่ะ Let’s go! ไปลุยกันโลด Quantity words คืออะไร

Past Time

Past Time หรือ เวลาในอดีต

สวัสดีค่ะนักเรียน ม.1 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดูเทคนิคและวิธีการใช้ Past Time หรือ เวลาในอดีต ซึ่งเมื่อเล่าถึงเวลาในอดีตส่วนใหญ่แล้วเรามักเจอคำว่า yesterday (เมื่อวานนี้), 1998 (ปี ค.ศ. ที่ผ่านมานานแล้ว), last month (เดือนที่แล้ว)  และกลุ่มคำอื่นๆ ที่กำกับเวลาในอดีต ซึ่งเราจะเจอ Past Time ในกลุ่ม Past

Past Tense ที่มี Time Expressions ในประโยคบอกเล่าและปฏิเสธ

สวัสดีค่ะนักเรียน ม.2 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดูเทคนิคและวิธีการใช้ ” Past Tense ที่มี Time Expressions ในประโยคบอกเล่าและปฏิเสธ” ซึ่งเมื่อเล่าถึงเวลาในอดีตส่วนใหญ่แล้วเรามักเจอคำว่า yesterday (เมื่อวานนี้), 1998 (ปี ค.ศ. ที่ผ่านมานานแล้ว), last month (เดือนที่แล้ว)  และกลุ่มคำอื่นๆ ที่กำกับเวลาในอดีต ซึ่งเราจะเจอ Past

โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

ขั้นตอนของการแก้โจทย์ปัญหา บทความนี้จะทำให้น้องๆ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ซึ่งได้รวบรวมตัวอย่างไว้อย่างหลากหลาย แต่ก่อนที่น้องๆจะเรียนเรื่องนี้อย่าลืมทบทวน การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว กันก่อนนะคะ ถ้าน้องๆพร้อมแล้วเรามาศึกษาขั้นตอนของการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการ ดังนี้               ขั้นที่ 1 วิเคราะห์โจทย์ว่ากำหนดอะไรให้บ้าง และให้หาอะไร               ขั้นที่ 2 กำหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ให้หาหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่โจทย์ให้หา               ขั้นที่ 3 เขียนสมการตามเงื่อนไขของโจทย์               ขั้นที่

การเขียนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

การเขียนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

บทความนี้ ได้นำเสนอ การเขียนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก โดยที่น้องๆจะได้รู้จักกับ บทนิยามของเลขยกกำลัง ซึ่งจะทำให้น้องๆรู้จักเลขชี้กำลังและฐานของเลขยกกำลัง และสามารถหาค่าของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวกได้ ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกับเลขยกกำลังผ่านนิยามของเลขยกกำลัง ดังต่อไปนี้ บทนิยามของเลขยกกำลัง บทนิยาม  ถ้า a แทนจำนวนใด ๆ และ n แทนจำนวนเต็มบวก “a ยกกำลัง n” เขียนแทนด้วย aⁿ  มีความหมายดังนี้ a

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1