ลบไม่ได้ช่วยให้ลืม เช่นเดียวกับการลบเศษส่วนและจำนวนคละ!

บทความที่แล้วเราได้กล่าวถึงการบวกเศษส่วนและจำนวนคละไปแล้ว บทต่อมาก็จะเป็นเรื่องของการลบเศษส่วนและจำนวนคละ ทั้งสองเรื่องนี้มีหลักการคล้ายกันต่างกันที่เครื่องหมายที่บ่งบอกว่าโจทย์ต้องการทราบอะไร ดังนั้นบทความนี้จะอธิบายถึงหลักการลบเศษส่วนและจำนวนคละอย่างละเอียดและยกตัวอย่างให้น้อง ๆเข้าใจอย่างเห็นภาพและสามารถนำไปปรับใช้กับแบบฝึกหัดเรื่องการลบเศษส่วนและจำนวนคละได้

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

การบวกลบจำนวนเต็มเป็นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ท่มีในหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์มาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล แต่การบวกลบเศษ่วนและจำนวนคละจะแตกต่างจากการบวกลบจำนวนเต็ม ที่ไม่สามารถนำตัวเลขมาบวกลบกันได้เลย เพราะมีสิ่งที่ต้องพิจารณาแตกต่างออกไปอีกหลายประการ ซึ่งจะมีอะไรบ้างเราจะมาอธิบายกันในบทความนี้

หลักการลบเศษส่วนมี 3 ประการ

  1. หา ค.ร.น. ของตัวส่วน หรือหาตัวเลขที่จะต้องคูณเพื่อทำให้ตัวส่วนเท่ากับตัวเลขนั้นลบเศษส่วน
  2. ทำตัวส่วนของให้เท่ากันก่อนที่จะนำเศษส่วนมาลบกันค.ร.น.ของตัวส่วน
  3. ลบเศษส่วนโดยลบเฉพาะตัวเศษ ตัวส่วนยังคงเหมือนเดิมการลบเศษส่วน

 

รูปแบบของการลบเศษส่วนและจำนวนคละ

1.การลบเศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนเท่ากัน

การลบเศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนเท่ากัน สามารถนำจำนวนนับลบกับจำนวนนับและเศษส่วนบลบกันเศษส่วนได้เลย  แต่ข้อควรระวังในการลบเศษส่วนต้องตรวจสอบก่อนว่าเศษส่วนที่อยู่ข้างหน้าต้องมากกว่าเศษส่วนที่อยู่ข้างหลังจึงจะสามารถลบกันได้เลย แต่ถ้าเศษส่วนน้อยกว่าตัวข้างหลังต้องทำการแปลงจำนวนคละให้เป็นเศษเกินทั้งหมดก่อนจึงจะสามารถลบกันได้ลบเศษส่วนจำนวนคละ

 

2.การบวกเศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนไม่เท่ากัน

การลบเศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องทำตัวส่วนให้เท่ากันก่อนจึงจะสามารถนำตัวเศษมาลบกันได้ ดังที่กล่าวไว้ข้างต้นเรื่องหลักการบวกเศษส่วน 3 ประการ จากนั้นต้องตรวจสอบเศษส่วนของตัวข้างหน้าว่าน้อยกว่าเศษส่วนตัวข้างหลังหรือไม่ ถ้ามากกว่าสามารถลบเศษส่วนได้เลยลบเศษส่วน

 

3.การบวกจำนวนคละและเศษเกิน

การลบจำนวนคละและเศษเกินสามารถทำได้ 2 วิธี คือเปลี่ยนเศษเกินให้เป็นจำนวนคละแล้วใช้หลักการลบจำนวนคละกับจำนวนคละ หรือเปลี่ยนจำนวนคละให้เป็นเศษเกินแล้วใช้หลักการลบเศษส่วนแต่วิธีนี้หลังจากลบเศษส่วนเสร็จแล้วและผลลัพธ์ออกมาเป็นเศษเกินต้องทำการแปลงให้เป็นจำนวนคละด้วยจึงจะทำให้ได้คำตอบที่สมบูรณ์โจทย์การลบเศษส่วน

วิธีที่ 1 แปลงเศษเกินให้เป็นจำนวนคละ

 

การลบเศษส่วน

วิธีที่ 2 แปลงจำนวนคละให้เป็นเศษเกิน


สรุปเรื่องการลบเศษส่วนและจำนวนคละ หลักการมี 3 ขั้นตอนและรูปแบบการลบเศษส่วนและจำนวนคละนั้นมี 3 รูปแบบ ดังที่อธิบายและยกตัวอย่างวิธีคิดในบทความข้างบน ข้อควรระวังก็คือการตรวจสอบเศษส่วนก่อนจะลบ เพราะถ้านำเศษส่วนที่น้อยกว่าลบเศษส่วนที่มากกว่าแล้วคำตอบอาจจะผิดได้ หากน้อง ๆ เข้าใจขั้นตอนของการลบเศษส่วนไม่ว่าโจทย์จะเป็นการลบในรูปแบบไหนก็จะสามารถทำโจทย์การลบเศษส่วนและจำนวนคละได้ถูกต้องอย่างแน่นอน

คลิปตัวอย่างเรื่องการลบเศษส่วนและจำนวนคละ

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

การใช้ Quantity words

การใช้ Quantity words เช่น many/ much/ a lot of/ lots of and etc.

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.2 ทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้ “การใช้ Quantity words เช่น many/ much/ a lot of/ lots of and etc. ” ในภาษาอังกฤษกันค่ะ Let’s go! ไปลุยกันโลด Quantity words คืออะไร

NokAcademy_ม2การใช้ Wh-questions กับ Past Simple Tense

การใช้ Wh-questions กับ Past Simple Tense

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.2 ทุกคน วันนี้ครูจะพาไปตะลุย ” การใช้ Wh-questions ร่วมกับ Past Simple Tense” กันนะคะ หากพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจร้า   Wh-Questions คืออะไร      เมื่อต้องถามคำถามอะไรก็ตามที่ไม่ต้องการคำตอบ Yes หรือ No แบบตรงประเด็น เราจะเรียกคำถามประเภทนี้ว่า Question  word

เรียนรู้บทร้องกรองสุภาษิต ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน

การนำสุภาษิตมาแต่งเป็นบทร้อยกรอง เรียกว่า บทประพันธ์ร้อยกรองสุภาษิต ซึ่งบทที่น้อง ๆ จะได้เรียนกันในวันนี้คือบทร้อยกรองสุภาษิตเรื่อง ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน เราไปดูกันเลยค่ะว่าที่มจากของบทร้อยกรองนี้จะเป็นอย่างไร มาจากสุภาษิตอะไร รวมไปถึงถอดความหมายตัวบท ศึกษาคำศัพท์ที่น่ารู้และศึกษาคุณค่าที่อยู่ในเรื่องด้วยค่ะ ถ้าพร้อมแล้วเราไปดูพร้อมกันเลย   ความเป็นมา ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน     ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ผู้แต่งคือ นายเพิ่ม สวัสดิ์วรรณกิจ เป็นบทร้อยกรองประเภทกลอนแปด พิมพ์รวมอยู่ในหนังสือบทประพันธ์อธิบายสุภาษิตของวรรณคดีสมาคมแห่งประเทศไทย    

Present Perfect

Present Perfect ในภาษาอังกฤษ

สวัสดีน้องๆ ม.​ 4 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาพูดถึงเรื่อง Present Perfect ในภาษาอังกฤษ จะเป็นอย่างไรลองไปดูกันเลยดีกว่าครับ

การบรรยายลักษณะ และ ความรู้สึก โดยใช้คำคุณศัพท์

การบรรยายลักษณะและความรู้สึก โดยใช้คำคุณศัพท์ Adjective

ทบทวนความหมายและหน้าที่ของคำคุณศัพท์   คำคุณศัพท์หรือ Adjective มีตัวย่อคือ Adj.  ทำหน้าที่ขยายคำนามหรือสรรพนามที่อยู่ในประโยค คำนามหรือสรรพนาม ณ ที่นี้ ก็คือ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ นั่นเองค่า นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ขยายในที่นี้เพื่อบอกให้รู้ว่าคำนามหรือสรรพนามเหล่านั้นมีลักษณะยังไง  และในบทนี้ครูจะพาไปดูการใช้คำคุณศัพท์บอกลักษณะและความรู้สึก (Descriptive Adjective) กันนะคะ ไปลุยกันเลย   การใช้คำคุณศัพท์ (Adjective)

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร  โดยการเลือกกำจัดตัวแปรใดตัวแปรหนึ่ง(x) เมื่อเลือกกำจัด x จะได้ค่า y แล้วนำค่าของตัวแปร(y) มาแทนค่าในสมการเพื่อหาค่าของตัวแปรอีกหนึ่งตัวแปร (x) ซึ่งก่อนที่จะเรียนเรื่องนี้ น้องๆสามารถศึกษาเรื่อง การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยใช้กราฟ เพิ่มเติมได้ที่  ⇒⇒ การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยใช้กราฟ ⇐⇐ ให้ a, b, c, d, e และ

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1