การหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

การหารเลขยกกำลัง

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

การหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

บทความนี้ ได้รวบรวมตัวอย่าง การหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก ซึ่งทำได้โดยการใช้สมบัติการหารของเลขยกกำลัง ก่อนจะเรียนรู้ ตัวอย่างการหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก น้องๆจำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่อง การคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่  ⇒⇒ การคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก ⇐⇐

สมบัติของการหารเลขยกกำลัง 

am ÷ an  = am –    (ถ้าเลขยกกำลังฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

เมื่อ a เป็นจำนวนใดๆ m และ n เป็นจำนวนเต็มบวก ซึ่งแบ่งเป็น 3 กรณี ดังนี้

กรณีที่ 1  m > n  ( am ÷ an  = am – n  )

(เลขชี้กำลังของตัวเศษมากกว่าตัวส่วน)

ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลลัพธ์ของจำนวนต่อไปนี้

1)   7⁴ ÷ 7²  =  7⁴ ⁻ ²    (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  7²

2)   (-15)⁶ ÷ (-15)³  =  (-15)⁶ ⁻ ³  (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

= (-15)³  

3)   (¼)⁷ ÷ (¼)  =  (¼)⁷   (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

= (¼)³

4)    \frac{3^{11}}{3^{5}}  =  3¹¹⁻   (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

= 3⁶

5)    \frac{\left (0.8 \right )^{6}}{\left (0.8 \right )^{2}}  =  (0.8)⁶ ⁻ ²  (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

= (0.8)⁴ 

กรณีที่ 2  m = n  ( am ÷ an  = am – n  และ  a⁰ = 1 )

(เลขชี้กำลังของตัวเศษเท่ากับตัวส่วน)

ตัวอย่างที่ 2  จงหาผลลัพธ์ของจำนวนต่อไปนี้

1)   8⁴ ÷ 8⁴  =  8⁴ ⁻ ⁴     (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  8⁰            (a⁰ = 1)

=  1

2)   3¹¹ ÷ 3¹¹  =  3¹¹¹¹     (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  3⁰            (a⁰ = 1)

=  1

3)   (¾)⁵ ÷ (¾)⁵  =  (¾)⁵ ⁻ ⁵   (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  (¾)⁰            (a⁰ = 1)

=  1

4)    \frac{7^{3}}{7^{3}}   =  7³ ⁻ ³   (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  7⁰            (a⁰ = 1)

=  1

5)    \frac{\left (0.5 \right )^{9}}{\left (0.5 \right )^{9}}  =  (0.5)⁹      (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

(0.5)⁰            (a⁰ = 1)

=  1

กรณีที่ 3  m < n   ( am ÷ an  = am – n  และ  a= ¹⁄aⁿ )

(เลขชี้กำลังของตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน)

ตัวอย่างที่ 3  จงหาผลลัพธ์ของจำนวนต่อไปนี้

1)   71¹³ ÷ 71¹⁵  =  71¹³ ¹⁵       (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

71⁻²                       ( a= ¹⁄aⁿ )

\frac{1}{71^{2}}

2)   (1.2)¹ ÷ (1.2)  =  (1.2)¹        (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

(1.2)⁻⁴                         ( a= ¹⁄aⁿ )

= \frac{1}{\left (1.2 \right )^{4}}

3)   (0.8)³ ÷ (0.8)  =  (0.8)³ ⁻ ⁶      (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  (0.8)³                       ( a= ¹⁄aⁿ )

\frac{1}{\left (0.8 \right )^{3}}

4)  \frac{6^{9}}{6^{13}}  =  6⁹ ¹³       (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  6                        ( a= ¹⁄aⁿ )

= \frac{1}{6^{4}}

5)  \frac{\left (9.4 \right )^{6}}{\left (9.4 \right )^{10}}   =  (9.4)⁶ ¹⁰       (ฐานเหมือนกันหารกัน ให้นำเลขชี้กำลังมาลบกัน)

=  (9.4)⁻                         ( a= ¹⁄aⁿ )

= \frac{1}{\left (9.4 \right )^{4}}

เมื่อน้องๆเรียนรู้เรื่อง การหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก ซึ่งจากสมบัติของการหารเลขยกกำลังจะพบว่า ารหารเลขยกกำลังที่มีฐานเดียวกัน ต้องนำเลขชี้กำลังมาลบกัน เมื่อน้องๆ ได้ศึกษาจากตัวอย่างหลายๆตัวอย่าง ทำให้น้องๆ สามารถคูณเลขยกกำลัง ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ

คลิปวิดีโอ การหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

        คลิปวิดีโอนี้ได้รวบรวม การหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก โดยแสดงวิธีคิดไว้อย่างละเอียด ซึ่งเป็นคลิปสั้นๆ ที่สามารถเข้าใจได้ง่าย แฝงไปด้วยสาระความรู้ และเทคนิค รวมถึงการอธิบาย ตัวอย่าง และสอนวิธีคิดที่จะทำให้วิชาคณิตศาสตร์เป็นเรื่องง่าย

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

ศึกษาตัวบทและคุณค่าของวรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา

ราชาธิราช   หลังจากได้ศึกษาประวัติความเป็นมาและเรื่องย่ออย่างคร่าว ๆ ของวรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสากันไปแล้ว บทเรียนวันนี้เราจะมาศึกษาเกี่ยวกับตัวบทเด่น ๆ ที่น่าสนใจและคุณค่าที่อยู่ในเรื่องนี้กันค่ะ ไปดูพร้อม ๆ กันเลยนะคะว่าวรรณคดีที่ถูกแปลมาจากพงศาวดารมอญอย่างราชาธิราชเรื่องนี้จะมีตัวบทไหนที่น่าสนใจและให้คุณค่าอะไรบ้าง   ศึกษาตัวบทราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา     บทเด่น ๆ บทที่ 1    บทดังกล่าวเกิดขึ้นในตอนที่สมิงพระรามอาสาไปขี่ม้ารำทวนสู้กับกามะนี

เรียนรู้เรื่อง ภาษาบาลี สันสกฤต ที่อยู่ในภาษาไทย

​  ภาษาบาลี สันสกฤต เป็นภาษาอินเดียโบราณ คำบาลี สันสกฤตที่นำมาใช้ในไทยจึงมักจะอยู่ในบทสวดเป็นส่วนใหญ่ แต่น้อง ๆ ทราบไหมคะว่าที่จริงแล้วนอกจากจะอยู่ในบทสวดมนต์ ภาษาไทยก็ยังมีอีกหลายคำเลยค่ะที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต เรียกได้ว่าถูกใช้ปนกันจนบางครั้งก็อาจทำให้เราสับสนไปได้ว่าสรุปนี่คือคำจากบาลี สันสกฤตหรือไทยแท้กันแน่ บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปทำความเข้าใจ เจาะลึกลักษณะภาษาพร้อมบอกทริคการสังเกตง่าย ๆ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลยค่ะ   ความเป็นมาของภาษาบาลี สันสกฤตในประเทศไทย     การยืมภาษา

like_dislike + การเขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง

การเขียนบรรยายความรู้สึกของตนเอง like/dislike + การเขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง การเขียนบรรยายความรู้สึกของตนเอง like/dislike + การเขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง หากพร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลดเด้อ Let’s go! ถาม-ตอบก่อนเรียน หากมีคนถามว่า What do you like doing? หรือ What do you dislike doing? (คุณชอบหรือไม่ชอบทำอะไร) นักเรียนสามารถแต่งประโยคเพื่อตอบคำถาม

ประโยคความเดียวและประโยคความรวมในภาษาอังกฤษ

  สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.1 ที่น่ารักทุกคน เจอกันอีกแล้วจร้ากับไวยากรณ์การเขียนภาษาอังกฤษและวันนี้ครูจะพาไปดูเทคนิคการการใช้ประโยคความเดียว และประโยคความรวมในภาษาอังกฤษกันค่ะ ซึ่งเป็นไม้เบื่อไม้เมามากกับคนที่ไม่ชอบเขียน  ครูเอาใจช่วยทุกคนค่า ไปลุยกันเลย 3 โครงสร้างประโยคในภาษาอังกฤษ การจะเป็นประโยคสมบูรณ์ได้นั้น ประโยคจะต้องประกอบไปด้วย 3 ส่วนสำคัญดังนี้ กริยา หรือ verb (ภาคขยาย) ภาคขยาย จะมีหรือไม่มีก็ได้ การใส่ภาคขยายเข้ามาเพื่อให้ประโยคสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ประธาน subject  + กริยา หรือ

ผู้ชนะ

ผู้ชนะ บทอาขยานที่ว่าด้วยความไม่ย่อท้อ

บทอาขยาน คือ บทท่องจำจากวรรณคดีเรื่องต่าง ๆ หรือเป็นคำประพันธ์ที่มีความไพเราะ และมีความงดงามทางภาษา มีความหมายดี และให้ข้อคิดที่มีคุณค่า สามารถนำไปใช้ในชีวิตได้ และบทอาขยานที่เราจะได้เรียนรู้กันในวันนี้ก็คือบทอาขยานเรื่อง ผู้ชนะ จะเป็นอย่างไรบ้างนั้นเราไปดูพร้อมกันเลยค่ะ   ประวัติความเป็นมาของเรื่องผู้ชนะ     บุญเสริม แก้วพรหม เป็นนักแต่งกลอนชาวนครศรีธรรมราช เริ่มฝึกเขียนกลอนตั้งแต่สมัยเรียนอยู่ชั้นประถม จากการคลุกคลีกับหนังสือและเรียนรู้เกี่ยวกับบทกลอนในห้องเรียน แต่มาเริ่มเขียนอย่างจริงจังในระดับชั้นมัธยมศึกษา ได้ส่งผลงานเข้าประกวดและผ่านการคัดเลือกลงหนังสือพิมพ์ ออกอากาศทางวิทยุ แนวที่เขียนเป็นเรื่องเกี่ยวกับความรักและสะท้อนสังคม

รากที่สาม

รากที่สาม

ในบทตวามนี้เราจะได้เรียนรู้การหารากที่สามของจำนวนจริงใดๆ ซึ่งทำได้หลายวิธีเช่นเดียวกับการหารากที่สอง อาจใช้การแยกตัวประกอบ การประมาณ การเปิดตาราง และการใช้เครื่องคำนวณ แต่เนื่องจากการประมาณเป็นวิธีที่ยุ่งยาก ในที่นี้จึงจะกล่าวเฉพาะการหารากที่สามโดยการแยกตัวประกอบ การเปิดตาราง และการใช้เครื่องคำนวณ

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1