การสร้างตารางค่าความจริง

บทความนี้เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับการสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ เป็นเนื้อหาที่ไม่ยากมากหลังจากน้องๆได้อ่านบทความนี้แล้ว น้องๆจะสามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ สามารถบอกได้ว่าประพจน์แต่ละประพจน์เป็นจริงได้กี่กรณีและเป็นเท็จได้กี่กรณี และจะทำให้น้องเรียนเนื้อหาเรื่องต่อไปได้ง่ายยิ่งขึ้น

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

การสร้างตารางค่าความจริงเป็นการทำความเข้าใจว่าประพจน์จะสามารถเป็นจริงหรือเท็จได้กี่กรณี ถ้าเป็นการบรรยายว่าตัวเชื่อมแต่ละตัวเป็นจริงกรณีไหนและเท็จกรณีไหนอาจจะทำให้น้องๆมองภาพไม่ค่อยออก การทำตารางจะทำให้เห็นภาพง่ายขึ้น เราไปดูเนื้อหาการสร้างตารางค่าความจริงกันเลยค่ะ

การสร้างตารางค่าความจริง

กรณีที่มีประพจน์ 1 ประพจน์ จะมีค่าความจริงที่เป็นไปได้ 2 กรณี ดังนี้

กรณีที่มีประพจน์ 2 ประพจน์ จะมีค่าความจริงที่เป็นไปได้ 4 กรณี ดังนี้

กรณีที่มีประพจน์ 3 ประพจน์ จะมีค่าความจริงที่เป็นไปได้ 8 กรณี ดังนี้

จากทั้ง 3 กรณีแรก เราจะได้ว่า

กรณีที่มีประพจน์ a ประพจน์ จะมีค่าความจริงที่เป็นไปได้ 2ª กรณี

การสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ที่เชื่อมด้วย “หรือ”

กรณี “หรือ” ถ้ามีตัวใดตัวหนึ่งเป็นจริง ประพจน์ p∨q จะเป็นจริงทันที

เช่น  ก. 3+2 = 5 หรือ 3>7

สร้างตารางค่าความจริงได้ดังนี้

ดังนั้น ประพจน์ 3+2 =5 หรือ 3>7 มีค่าความจริงเป็นจริง (T)

ข. หินเป็นสิ่งมีชีวิต หรือ เชียงใหม่อยู่ภาคใต้ของประเทศไทย

สร้างตารางค่าความจริงได้ ดังนี้

ดังนั้น ประพจน์ หินเป็นสิ่งมีชีวิตหรือเชียงใหม่อยู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีค่าความจริงเป็นเท็จ(F)

การสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ที่เชื่อมด้วย “และ”

เช่น  ก. จำนวนนับมีค่ามากกว่า 0 และ 1>0

สร้างตารางค่าความจริงได้ ดังนี้

ดังนั้น ประพจน์จำนวนนับมีค่ามากกว่า0 และ 1>0 มีค่าความจริงเป็นจริง

ข.) 2 หาร 20 ลงตัว และ 2 เป็นจำนวนคี่

สร้างตารางค่าความจริงได้ ดังนี้

ดังนั้น ประพจน์ 2 หาร 20ลงตัว และ 2 เป็นจำนวนคี่ มีค่าความจริงเป็นเท็จ

การสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ที่เชื่อมด้วย “ถ้า…แล้ว…”

เช่น ก. ถ้า 2 เป็นจำนวนคี่ แล้ว ½ = 0.5

สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ ดังนี้

ดังนั้น ประพจน์ ถ้า 2 เป็นจำนวนคี่ แล้ว ½ = 0.5 มีค่าความจริงเป็นจริง

ข. 1<2 แล้ว -1>2

สามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ ดังนี้

ดังนั้น ประพจน์ 1<2 แล้ว -1>2 มีค่าความจริงเป็นเท็จ

การสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ที่เชื่อมด้วย “ก็ต่อเมื่อ”

ตัวอย่างการสร้างตารางค่าความจริง

 

1.) สร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ (p→q)∨r

วิธีทำ

  •  ทำในวงเล็บก่อน จะได้ค่าความจริง p→q ตามตาราง
  • จากนั้นนำค่าความจริงที่ได้ใน ช่อง p→q ไปเชื่อมกับ r จะได้ค่าความจริงตามตารางช่อง (p→q)∨r

 

2.) สร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ (p∧q)∨∼p

วิธีทำ

  • ทำจากข้างในวงเล็บ คือพิจารณา (p∧q) 
  • พอได้ค่าความจริงมาแล้วก็มาพิจารณา (p∧q)∨∼p ได้ค่าความจริงดังตาราง

3.) จงสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ (p→q)↔(p∨q)

วิธีทำ

  • อาจจะเริ่มพิจารณาจาก (p→q) แล้วไปพิจารณา (p∨q)
  • พอได้ค่าความจริงของทั้งสองประพจน์แล้ว เราจะพิจารณา (p→q)↔(p∨q) แล้วจะได้ตารางค่าความจริง ดังตาราง

 

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

คำไทยที่มักอ่านผิด มีคำใดบ้างที่เราควรรู้?

การอ่านผิด เป็นปัญหาในการอ่านออกเสียง มีสาเหตุมาจากอ่านไม่ออก หรือ อ่านผิด หลายคนอาจมองว่าไม่สำคัญ แต่รู้หรือไม่คะ ว่าการอ่านนั้นมีความสำคัญอย่างมาก โดยเฉพาะหากเราอ่านผิด ก็จะทำให้ความหมายของคำนั้นผิดเพี้ยนไป หรือกลายเป็นคำที่ไม่มีความหมายไปเลยก็ได้ บทเรียน คำไทยที่มักอ่านผิด ในวันนี้ เราจะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้การอ่านสะกดคำที่ถูกต้อง กับคำในภาษาไทยที่คนส่วนใหญ่มักอ่านผิดกันบ่อย ๆ จะมีคำใดบ้าง ไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ   คำไทยที่มักอ่านผิด   ลักษณะของการอ่านผิดมีดังนี้

เรนจ์ของความสัมพันธ์

เรนจ์ของความสัมพันธ์ เรนจ์ของความสัมพันธ์ r คือ สมาชิกตัวหลังของคู่อันดับในความสัมพันธ์ r เขียนแทนด้วย   กรณีที่ r เขียนแบบแจกแจงสมาชิก เราสามารถหาโดเมนได้เลยโดย คือสมาชิกตัวหลัง เช่น = {(2, 2), (3, 5), (8, 10)} จะได้ว่า  = {2, 5,

Profile of Signal Words

การใช้ Signal Words ในภาษาอังกฤษ

  บทนำ   สวัสดีค่ะนักเรียน ม.1 ทุกคน วันนี้ครูมีเทคนิคที่จะทำให้ทุกคนนำไปปรับใช้กับงานเขียนด้วยการใช้ คำลำดับความสำคัญ (Signal Words) ในภาษาอังกฤษกันค่ะ โดยปรกติแล้วงานเขียนแบ่งออกออกเป็นสองรูปแบบหลักๆคือ เรียงความ (Essay Writing) กับ พารากราฟ (Paragraph Writing) ขอสรุปสั้นๆง่ายๆ ให้ทุกคนเข้าใจว่า Essay คือเรียงความเพราะฉะนั้นจะยาวกว่า Paragraph ที่เป็นเพียงย่อหน้าหนึ่งเท่านั้นนั่นเองค่ะ

01NokAcademy_Question Tag Profile

การใช้โครงสร้างประโยค Question Tags (ปัจจุบัน)

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป. 6 ที่น่ารักทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้ในหัวข้อเรื่อง การใช้โครงสร้างประโยค Question Tags ในรูปแบบปัจจุบัน โดยที่เราจะเจอกลุ่มประโยคในลักษณะนี้ร่วมกับรูปแบบโครงสร้างประโยคและกริยาที่เป็นปัจจุบัน (V. 1 and Present form) พร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยค่า ความหมายของ Question Tags   Question แปลว่า คำถาม ส่วนคำว่า Tag จะแปลว่า วลี

ตัวผกผันของความสัมพันธ์

ตัวผกผันของความสัมพันธ์

ตัวผกผันของความสัมพันธ์ ตัวผกผันของความสัมพันธ์ r คือความสัมพันธ์ใหม่ที่เกิดจากการสลับตำแหน่งของสมาชิกตัวหน้ากับสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับทุกคู่ในความสัมพันธ์ r เขียนแทนด้วย   ซึ่ง = {(y, x) : (x, y ) ∈ r} เช่น r = {(1, 2), (3, 4), (5,

สามัคคีเภทคำฉันท์

สามัคคีเภทคำฉันท์ วรรณคดีขนาดสั้นที่ว่าด้วยความสามัคคี

สามัคคีเภทคำฉันท์ เป็นนิทานสุภาษิตขนาดสั้นว่าด้วยเรื่องความสามัคคี เป็นอีกหนึ่งวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี ทั้งด้านการประพันธ์และเนื้อหา เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น บทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกับวรรณคดีเรื่องดังกล่าวเพื่อศึกษาที่มา จุดประสงค์ รวมไปถึงเรื่องย่อ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลยค่ะ   ที่มาของเรื่องและจุดประสงค์ในการแต่ง   สามัคคีเภทคำฉันท์ ดำเนินเรื่องโดยอิงประวัติศาสตร์ครั้งพุทธกาล เป็นนิทานสุภาษิตในมหาปรินิพพานสูตรและอรรถกถาสุมังคลวิลาสินี     ในสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดวิกฤตการณ์ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เช่น เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1