โจทย์ปัญหาการหารทศนิยม

บทความนี้เป็นเรื่องการวิเคราห์โจทย์ปัญหาการหารทศนิยม ซึ่งโจทย์ที่นำมาเป็นตัวอย่างจะประกอบด้วยการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา การเขียนประโยคสัญลักษณ์ รวมไปถึงการสดงวิธีทำ หวังว่าน้องๆจะสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ได้จริงกับโจทย์ปัญหาในห้องเรียน

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

เมื่อเราได้ทำความเข้าใจและเรียนรู้เนื้อหาของหลักการหารทศนิยมแล้วเรื่องต่อไปก็จะเป็นการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการหารทศนิยม เพราะจะได้นำเอาหลักการหารทศนิยมมาให้ในการแก้โจทย์ปัญหา ซึ่งโดยส่วนใหญ่โจทย์ปัญหาที่นำมาก็จะเป็นการยกตัวอย่างเหตุการณ์ในชีวิตจริง เช่นการหาค่าเฉลี่ย การแบ่งเงิน และการชั่ง ตวงและการวัด เป็นต้น

ตัวอย่างโจทย์ปัญหาการหารทศนิยม

ตัวอย่างที่ 1 

ข้อสอบคณิตศาสตร์ 60 ข้อ กำหนดเวลาทำข้อสอบ 100 นาที ด.ช.วิน ทำเสร็จภายในเวลา 90 นาที ด.ช.วิน ทำข้อสอบเฉลี่ยข้อละกี่นาที

วิเคราะห์โจทย์: โจทย์ต้องการทราบค่าเฉลี่ยของเวลาในการทำข้อสอบ ดังนั้นต้องนำ 90 ไปแบ่งให้ 60 ข้อ เท่าๆกัน คือหลักการหารทศนิยม

ประโยคสัญลักษณ์: 90 ÷ 60  = _______________

การหารทศนิยม

ตัวอย่างที่ 2

พี่หญิงมีน้ำผลไม้อยู่ 3 ลิตร แบ่งให้น้อง 7 คน เท่าๆกัน น้องแต่ละคนจะได้รับน้ำผลไม้คนละกี่มิลลิลิตร (ตอบเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง)

วิเคราะห์โจทย์: โจทย์กำหนดว่าให้แบ่งน้ำผลไม้ให้เท่าๆกัน ตรงกับหลักการหาร และหน่วยที่ต้องการทราบคือหน่วยมิลลิลิตร ดังนั้นต้องแปลงหน่วยที่โจทย์ให้มา จากลิตรเป็นมิลลิลิตรก่อนจึงจะนำไปแบ่งให้ท่าๆกันได้

ประโยคสัญลักษณ์: (3 x 1,000) ÷ 7  = _______________

โจทย์การหารทศนิยม

ตัวอย่างที่ 3

วันที่ 21 กันยายน 2563 เงิน 1 ดอลล่าร์สหรัฐ(USD) แลกเป็นเงินไทยได้ประมาณ 31 บาท วินัยนำเงิน 32,500  บาท แลกเป็นเงิน ดอลล่าร์สหรัฐได้ประมาณกี่ดอลลาร์ (ตอบเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง)

วิเคราะห์โจทย์: ต้องนำเงินไทยแลกทีละ 31.09 บาท ถึงจะได้เป็นเงิน 1 ดอลลาร์ ดังนั้นต้องแบ่งออกทีละเท่าๆกัน คือหลักการหาร

ประโยคสัญลักษณ์: 32,500 ÷ 31  = _______________

การหารทศนิยม

ตัวอย่างที่ 4

เสือเดินป่าจากจุดเริ่มต้นถึงจุดพักเป็นระยะทาง 6.5 กิโลเมตร จากนั้นดินต่ออีก 700 เมตร จนถึงน้ำตก ใช้เวลาเดินป่าจากจุดเริ่มต้นถึงน้ำตก 3 ชั่วโมง เสือใช้เวลาเดินป่าเฉลี่ยชั่วโมงละกี่กิโลเมตร

วิเคราะห์โจทย์: โจทย์ต้องการทราบค่าเฉลี่ยของเวลาในการเดินป่าของเสือ ดังนั้นต้องนำระยะทางทั้งหมด (แต่ต้องทำหน่วยให้เหมือนกันก่อนจึงจะสามารถนำไปแบ่งได้) ไปแบ่งให้วลา 3 ชั่วโมง เท่าๆกัน คือหลักการหาร 

ประโยคสัญลักษณ์: [6.5 + ( 700 ÷ 1,000 )] ÷ 3  = _______________

การหารทศนิยม

คลิปตัวอย่างเรื่องโจทย์ปัญหาการหารทศนิยม

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

สมมูลและนิเสธ

สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ

“สมมูลและนิเสธ” ของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ สมมูลและนิเสธ เราเคยเรียนกันไปแล้วก่อนหน้านี้ แต่เป็นของประพจน์ p, q, r แต่ในบทความนี้จะเป็นสมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ ซึ่งก็จะเอาเนื้อหาก่อนหน้ามาปรับใช้กับประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ สิ่งที่เราจะต้องรู้และจำให้ได้ก็คือ การสมมูลกันของประพจน์ เพราะจะได้ใช้ในบทนี้แน่นอนน ใครที่ยังไม่แม่นสามารถไปอ่านได้ที่ บทความรูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน  นิเสธของตัวบ่งปริมาณ เมื่อเราเติมนิเสธลงไปในประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ ข้อความต่อไปนี้จะสมมูลกัน กรณี 1 ตัวแปร ∼∀x[P(x)] ≡ ∃x[∼P(x)] ∼∃x[P(x)]

การหารเศษส่วนและจำนวนคละ

เทคนิคการหารเศษส่วนและจำนวนคละ

บทความที่แล้วเราได้พูดถึงหลักการคูณเศษส่วนและจำนวนคละไปแล้ว บทความนี้จะเป็นเรื่องต่อยอดจากการคูณก็คือเรื่องการหารเศษส่วนและจำนวนคละ ถ้าใครอ่านบทความการคูณเศษส่วนและจำนวนคละเข้าใจแล้วรับรองว่าเรื่องนี้จะยิ่งง่ายมากกว่าเดิมแน่นอน เพราะต้องใช้เรื่องการคูณเศษส่วนและจำนวนคละในการคำนวณหาคำตอบเช่นกัน สิ่งที่บทความนี้จะมอบให้กับน้อง ๆก็คือขั้นตอนการแสดงวิธีทำที่เห็นภาพและเข้าใจง่ายเหมือนกันบทความที่แล้วมา

ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์

ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ ซึ่งได้กล่าวถึงขั้นตอนและวิธีการหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ และยกตัวอย่างประกอบ อธิบายอย่างละเอียด ซึ่งก่อนจะเรียนเรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์น้องๆสามารถทบทวน การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ได้ที่  ⇒⇒ การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ⇐⇐ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ (probability) คือ  อัตราส่วนระหว่างจำนวนเหตุการณ์ที่สนใจ (n(E)) กับจำนวนแซมเปิลสเปซ (n(S)) ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้พร้อม ๆ กัน ใช้สัญลักษณ์ “P(E)”  แทนความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ที่สนใจ โดยที่ 

ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ

ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ เรียนรู้บทร้อยกรองจากพุทธศาสนสุภาษิต

สุภาษิต หมายถึงถ้อยคำที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านาน และมีความหมายเป็นคติสอนใจ บางสุภาษิตพูดนำมาแต่งเป็นบทร้อยกรองเพื่อใช้เป็นบทอาขยานให้กับเด็ก ๆ ได้เรียน ได้ฝึกอ่าน รวมไปถึงให้เรียนรู้ข้อคิดจากสุภาษิตได้ง่ายมากขึ้น บทที่เราจะได้เรียนกันในวันนี้คือ ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ จะเป็นอย่างไรบ้างนั้น ไปเรียนรู้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   ความเป็นมา ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ     ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญเป็นบทร้อยกรองที่ถูกประพันธ์ขึ้นโดยพระยาอุปกิตศิลปสาร แต่งด้วยโคลงสี่สุภาพ 1 บท และกาพย์ยานี 11

NokAcademy_Question ป5 การใช้ Question Words

การใช้ Question Words

  สวัสดีค่ะนักเรียนชั้น ป.5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาเรียนรู้เกี่ยวกับ Question Words ที่รวมทั้งรูปแบบกริยาช่วยนำหน้าประโยค และรูปแบบ Wh-questions กันนะคะ พร้อมกันหรือยังเอ่ย ถ้าพร้อมแล้วก็ ไปลุยกันเลย   Question words ขึ้นต้นด้วยกริยาช่วย   ทบทวนกริยาช่วยสักนิด Helping verb หรือ Auxiliary verb

คำสุภาพและคำผวน

คำสุภาพ คำผวน สองขั้วตรงข้ามในภาษาไทย

คำสุภาพ และคำผวน คำสุภาพและคำผวน คือสองเรื่องในภาษาไทยที่ต่างกันสุดขั้ว ทั้งวิธีใช้ ความหมาย และความสำคัญ บทเรียนภาษาไทยวันนี้เราจะพาน้อง ๆ ไปทำความรู้จักกับทั้งคำสุภาพ และคำผวนในภาษาไทย ว่าทำไมถึงต่างกันและสามารถใช้ในโอกาสใดได้บ้าง ไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   ความหมายของคำสุภาพ     คำสุภาพ เป็นการเปลี่ยนแปลงการใช้คำศัพท์เดิมให้เปลี่ยนไปในทางดีขึ้น เพื่อให้ดูสุภาพมากกว่าเดิม ใช้เมื่อต้องการหลีกเลี่ยงเรียกคำที่ไม่น่าฟัง หรือใช้กับคนที่อาวุโสกว่าก็ได้ อาจเรียกอีกอย่างว่าเป็นคำราชาศัพท์

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1