โจทย์ปัญหาการนําเสนอข้อมูล

บทความนี้จะยกตัวอย่างเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาการนำเสนอข้อมูลให้น้องๆทราบถึงวิธีคิดหรือวิธีทำเพื่อหาคำตอบที่ถูกต้อง
Picture of tucksaga
tucksaga
โจทย์ปัญหาการนำเสนอข้อมูล

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ในบทเรียนเรื่องการนำเสนอข้อมูล การเขียนนำข้อมูลมานำเสนอในรูปแบบต่างๆเช่น แผนภูมิแท่ง หรือกราฟเส้น เมื่อเราทำการศึกษาและสามารถอ่านข้อมูลจากส่งเหล่านั้นได้แล้ว บทเรียนต่อไปจะเป็นเรื่องของโจทย์ปัญหาในการนำเสนอข้อมูล ที่จะมาในรูปแบบของคำถามที่ต้องหาคำตอบจาก แผนภูมิแท่งหรือกราฟเส้นที่โจทย์กำหนดมานั่นเอง

โจทย์ปัญหาการนำเสนอข้อมูล ป.5

ในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่องการนำเสนอข้อมูลนั้น คุณต้องมีพื้นฐานการอ่านข้อมูลจาก แผนภูมิ หรือกราฟก่อนจึงจะสามารถแก้ไขโจทย์และหาคำตอบออกมาได้อย่างถูกต้อง ยกตัวอย่างโจทย์ดังนี้

ตัวอย่างที่ 1 โจทย์ปัญหาแผนภูมิแท่ง

แผนภูมิแท่ง

จากแผนภูมิแท่งจงคำถามต่อไปนี้

ข้อที่ 1.) พ.ศ.2558 – พ.ศ.2560 สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกมากที่สุดกับน้อยที่สุดต่างกันเท่าใด

วิธีทำ สินค้าที่มีมูลค้าการส่งออกมาที่สุดคือ ข้าว ในปี พ.ศ.2560 มีมูลค่าเท่ากับ 174,000 ล้านบาท และสินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกที่น้อยที่สุดคือ ผลไม้สดและแห้ง ในปีพ.ศ. 2558 มีมูลค่าเท่ากับ 45,000 ล้านบาท

ดังนั้นมีมูลค่าต่างกันอยู่ที่ 174,000 –  45,000 = 129,000 ล้านบาท

ตอบ 129,000 ล้านบาท

ข้อที่ 2.) สินค้าที่มีมูลการส่งออกทั้งสามปีน้อยกว่า 200,000 ล้านบาทได้แก่อะไรบ้าง

วิธีทำ มูลค่าทั้งสามปีของข้าวเท่ากับ 156,000 + 155,000 + 174,000

                                                 = 485,000 ล้านบาท 

มูลค่าทั้งสามปีของผลิตภันฑ์มันสำปะหลังเท่ากับ  117,000 + 103,000 + 95,000

                                                 = 315,000 ล้านบาท

มูลค่าทั้งสามปีของไก่แปรรูปเท่ากับ 66,000 + 71,000 + 76,000

                                                 = 143,000 ล้านบาท

มูลค่าทั้งสามปีของผลไม้สดและแห้งเท่ากับ 45,000 + 54,000 + 77,000

                                                 = 176,000 ล้านบาท

ตอบ ไก่แปรรูป และ ผลไม้สดและแห้ง

ตัวอย่างที่ 2 โจทย์ปัญหากราฟเส้น

กราฟเส้น

จากกราฟเส้นจงคำถามต่อไปนี้

คำถาม: ตั้งแต่ พ.ศ.2556 – พ.ศ.2560 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยใช้ถ่านหินลิกไนต์เฉลี่ยปีละกี่ล้านตัน

วิธีทำ นำปริมาณถ่านหินลิกไนต์ที่ใช้ไปของปีพ.ศ.2556 – พ.ศ.2560มารวมกัน

จะได้      16.9 + 20.4 + 14.36 + 16.41 + 15.91 = 83.98 ล้านตัน

จากนั้นรวมปริมาณที่รวมกันข้างต้นเฉลี่ยให้กับ 5 ปี เท่าๆกัน

จะได้      83.98 ล้านตัน ÷ 5 = 16.796 ล้านตัน

ตอบ เฉลี่ยปีละ 16.796 ล้านตัน

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

การใช้ Possessive Pronoun

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.6 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง การใช้ Possessive Pronoun ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจ้า บทนำ Possessive pronoun (เช่น mine, yours, hers) ถือเป็นหัวข้อหนึ่งในภาษาอังกฤษที่หลายคนมักจะสับสน นั่นก็เพราะมันมีความคล้ายคลึงกับ Possessive adjective (เช่น my, your, her) ลองเปรียบเทียบประโยคเหล่านี้ดูนะคะ   A

สถิติ (ค่ากลางของข้อมูล/การกระจายของข้อมูล)

บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง ค่ากลางของข้อมูลและการกระจายของข้อมูล ซึ่งค่ากลางของข้อมูลจะประกอบด้วย ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม ส่วนการวัดการกระจายของข้อมูลจะศึกษาในเรื่องการหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งน้องๆสามารถทบทวน การนำเสนอข้อมูลในรูปตารางแจกแจงความถี่ ได้ที่  ⇒⇒  การนำเสนอข้อมูลในรูปตารางแจกแจงความถี่ ⇐⇐ หมายเหตุ ค่าเฉลี่ยในทางคณิตศาสตร์มีหลายชนิด แต่ที่นิยมใช้คือค่าเฉลี่ยเลขคณิต การวัดค่ากลางของข้อมูล  เป็นการหาค่ากลางมาเป็นตัวแทนของข้อมูลแต่ละชุด ซึ่งมีวิธีการหาได้หลายวิธีที่นิยมกัน ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic

การพูดรายงานหน้าชั้น พูดอย่างไรให้ได้ใจผู้ฟัง

การพูดรายงานหน้าชั้น เป็นการแสดงผลงานศึกษาค้นคว้าโดยนำมาบอกเล่า ชี้แจง นำเสนอให้ผู้อื่นได้ทราบด้วย การพูดรายงานจึงมีความสำคัญในฐานะที่เป็นการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด บทเรียนในวันนี้เราจะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้กันว่าหลักในการพูดรายงานหน้าชั้นนั้นมีอะไรบ้าง พูดอย่างไรจึงจะดึงดูดผู้ฟัง รวมไปถึงมารยาทขณะที่ออกไปพูดด้วย จะเป็นอย่างไรบ้างนั้นเราไปดูกันเลยค่ะ   หลักการพูดรายงานหน้าชั้น     1. กล่าวทักทายผู้ฟัง แนะนำผู้ร่วมงาน หัวข้อ จุดประสงค์ การทักทายถือเป็นการสร้างความประทับใจแรกให้แก่ผู้ฟัง ไม่ว่าหัวข้อที่เราจะนำมาพูดหน้าชั้นคืออะไร แต่หากเราพูดเนื้อหาขึ้นมาเลยแบบไม่มีปี่ไม่ขลุ่ย ก็อาจจะทำให้ผู้ฟังไม่อยากฟัง หรือคิดว่าการพูดหน้าชั้นของเราเป็นเรื่องน่าเบื่อ

กาพย์พระไชยสุริยา ศึกษาตัวบทที่น่าสนใจและคุณค่าที่อยู่ในเรื่อง

กาพย์พระไชยสุริยา   กาพย์พระไชยสุริยาเป็นวรรณคดีที่ทรงคุณค่า เป็นแบบเรียนภาษาไทยที่มีมาแต่โบราณ นอกจากนี้ยังสอนเรื่องราวต่าง ๆ อีกมากมาก หลังจากที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ลักษณะคำประพันธ์และเนื้อเรื่องกันไปแล้ว เรื่องต่อไปที่น้อง ๆ จะได้เรียนรู้ก็คือตัวบทเด่น ๆ ที่น่าสนใจในเรื่องกาพย์พระไชยสุริยาค่ะ เรามาดูกันดีกว่านะคะว่าในกาพย์พระไชยสุริยาจะมีตัวบทไหนเด่น ๆ และมีคุณค่าอย่างไรบ้าง   ตัวบทที่น่าสนใจในกาพย์พระไชยสุริยา   ลักษณะคำประพันธ์ : กาพย์สุรางคนางค์ 28  

Present Perfect

Present Perfect ในภาษาอังกฤษ

สวัสดีน้องๆ ม.​ 4 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาพูดถึงเรื่อง Present Perfect ในภาษาอังกฤษ จะเป็นอย่างไรลองไปดูกันเลยดีกว่าครับ

Relative Clause Profile II

Relative Clause

สวัสดีค่ะนักเรียนม. 3 ที่รักทุกคน วันนี้เราจะไปดู Relative clause หรือ อนุประโยคในภาษาอังกฤษ ที่ทำหน้าที่เหมือนกันกับคำคุณศัพท์ (Adjective) ซึ่งมีหน้าที่ขยายคำนามที่อยู่ข้างหน้า  และจะใช้ตามหลัง Relative Pronoun เช่น  who, whom, which, that, และ whose แต่สงสัยมั้ยคะว่าทำไมต้องเรียนเรื่องนี้ ลองดูตัวอย่างประโยคด้านล่างแล้วจะร้องอ๋อ   Relative

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1