Short question เน้นรูปอดีตโดยใช้ Did, Was, Were

ม3 เน้นรูปอดีตโดยใช้ Did_ Was_Were_

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.3 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง “Short question เน้นรูปอดีตโดยใช้ Did, Was, Were” ไปลุยกันโลดเด้อ

 

ทำไมต้องเรียนเรื่อง Did, Was, Were

ม3 เน้นรูปอดีตโดยใช้ Did_ Was_Were_ (2)

Did, Was, Were ใช้ถามคำถามใน Past Simple Tense กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและจบลงไปแล้วในอดีต หรือ
ถามเพื่อให้แน่ใจว่าได้ทำสิ่งนั้นๆไปแล้ว ดังตัวอย่างด้านล่างต่อไปนี้

ตัวอย่างประโยค Short questions  with Was/Were:

ม3 เน้นรูปอดีตโดยใช้ Did_ Was_Were_ (3)

Was Lisa at the party last night?
ลิซ่าไปงานปาร์ตี้เมื่อคืนนี้หรือเปล่า

Short answer: Yes, she was.
ใช่หล่อนไป

Long answer: Yes, she was at the party last night.
ใช่หล่อนอยู่ที่งานเลี้ยงเมื่อคืนนี้

จากตัวอย่างจะเห็นว่า เราจะใช้ Did เมื่อประโยคเดิมเป็น Past Simple Tense จากนั้นสลับที่แล้ว กริยาจะเปลี่ยนเป็น กริยาช่องที่ 1 ไม่ผันหรือเราเรียกว่า Verb infinitive เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะเราผันกริยาที่ Did ไปแล้ว ซึ่งผันกริยาหลักในประโยคได้แค่ตัวเดียวและครั้งเดียวนั่นเองค่า

 Did you see John during the weekend?

คุณเห็นจอห์นช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์หรือเปล่า

Short answer: No, I didn’t.
ไม่นะ ไม่เลย

Long answer: No, I didn’t see John during the weekend.
ไม่ ฉันไม่เห็นจอห์นในช่วงสุดสัปดาห์เลย

 

 

  • ถามโดยใช้ Can

 

Can they speak English?
พวกเขาสามารถพูดภาษาอังกฤษได้หรือไม่?

Short answer:  Yes, they can.
ใช่พวกเราทำได้

Long answer: Yes, they can speak English.
ใช่ พวกเขาสามารถพูดภาษาอังกฤษได้

 

การใช้ Did ในประโยคบอกเล่า

 

ม3 เน้นรูปอดีตโดยใช้ Did_ Was_Were_ (4)

 

หลักการใช้ Did ใน Past Tense
โครงสร้าง: S+ did +…

did ในประโยคบอกเล่าแปลว่า ทำ

 

I did my homework yesterday.
ฉันทำการบ้านเมื่อวานนี้

 

Tom did his laundry this morning.
ทอมซักผ้าของเขาเมื่อเช้านี้

 

Jane did the laundry last week.
เจนซักผ้าเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว

 

My aunt did cleaning her clothes.
ป้าของฉันทำความสะอาดเสื้อผ้าของเธอ

  • การใช้ Did ในประโยคปฏิเสธม3 เน้นรูปอดีตโดยใช้ Did_ Was_Were_ (5)

did ในประโยคปฏิเสธ และประโยคคำถาม เป็นกริยาช่วย ดังนั้นไม่ต้องแปลว่าทำ

มี did ที่เป็นกริยาช่องที่ 2 ***เป็นกริยาช่วยแล้ว กริยาแท้ต้องเป็นช่อง 1 เสมอนะจ้ะ

 

***รูปย่อของ did not คือ didn’t

 

I didn’t do my laundry.
ฉันไม่ได้ซักผ้า

 

My dad didn’t come home last week.
อาทิตย์ที่แล้วพ่อไม่กลับบ้าน

 

Timothy did not go swimming yesterday.
ทิโมธีไม่ได้ไปว่ายน้ำเมื่อวานนี้

 

They didn’t call me last night.

เมื่อคืนพวกเขาไม่โทรหาฉัน

 

การใช้ Did ในประโยคคำถาม

ม3 เน้นรูปอดีตโดยใช้ Did_ Was_Were_ (8)

Did Jane go shopping last Tuesday?
เจนไปช้อปปิ้งเมื่อวันอังคารที่แล้วหรือเปล่า

 

Did Tom go to the movie with you yesterday?
ทอมไปดูหนังกับคุณเมื่อวานนี้หรือเปล่า

การใช้ Was / Were ในประโยคคำถามสั้นๆ

 

ตัวอย่างประโยค Short Answer
(Affirmative)
ใช่
Short Answer
(Negative)
ไม่
Was I too fast?
ฉันเร็วเกินไปหรือเปล่า
Yes, you were.

 

No, you weren’t.

 

Were you really busy yesterday?
เมื่อวานคุณยุ่งมากไหม
Yes, I was. No, I wasn’t.
Were you both proud?
คุณทั้งคู่ภูมิใจไหม
Yes, we were. No, we weren’t.
Were they hungry?
พวกเขาหิวไหม
Yes, they were. No, they weren’t.
Was she late again?
เธอมาสายอีกแล้วเหรอ
Yes, she was. No, she wasn’t.
Was she a good student?
เธอเป็นนักเรียนที่ดีหรือเปล่า
Yes, she was. No, she wasn’t.
Were they ready to go?

พวกเขาพร้อมที่จะไปหรือยัง

Yes, they were. No, they weren’t.

 

การใช้ “Did” ใน Short Answer Questions

 

ตัวอย่างประโยค Short Answer
(Affirmative)
Short Answer
(Negative)
Did I fail the test?
ฉันสอบตกหรือไม่
Yes, you did. No, you didn’t.
Did you need a vacation?

คุณต้องการวันหยุดพักผ่อนหรือไม่

Yes, I did. No, I didn’t.
Did you both like cooking?

คุณทั้งคู่ชอบทำอาหารไหม

Yes, we did. No, we didn’t.
Did they finish their work?

พวกเขาทำงานเสร็จหรือยัง

Yes, they did. No, they didn’t.
Did she have a good time?

เธอมีช่วงเวลาที่ดีหรือไม่

Yes, she did. No, she didn’t.
Did she want to leave early?

เธอต้องการที่จะออกไปก่อน

Yes, she did. No, she didn’t.
Did it have blue buttons?

มันมีปุ่มสีน้ำเงินหรือไม่

Yes, it did. No, it didn’t.

 

โครงสร้าง ของ Was / Were


ม3 เน้นรูปอดีตโดยใช้ Did_ Was_Were_ (9)

 

  • ประธาน I / He / She / It / A cat ใช้กับ กริยา was
  • ประธาน You / We / They / Cats ใช้กับกริยา were

 

Affirmative sentences Questions
I was late.
ฉันมาสาย
Was I late?
ฉันมาสายหรือเปล่า
You were sick yesterday.
เมื่อวานคุณป่วย
Were you sick yesterday?
เมื่อวานคุณป่วยหรือเปล่า
She was surprised.
เธอรู้สึกประหลาดใจ
Was she surprised?
เธอแปลกใจไหม
She was from Italy originally.
เดิมทีเธอมาจากอิตาลี
Was she from Italy?
เธอมาจากอิตาลีหรือเปล่า
It was a nightmare.
มันเป็นฝันร้าย
Was it a nightmare?
มันเป็นฝันร้ายหรือเปล่า
We were ready.
เราก็พร้อม
Were we ready?
เราพร้อมไหม
You were early.
คุณมาก่อน
Were you early?
คุณมาเร็วไหม
They were busy.

พวกเขายุ่ง

Were they busy?
พวกเขายุ่งหรือเปล่า

 เนื่องจากว่า was / were เป็นช่องที่ 2 ของ is / am / are ดังนั้นหลักการใช้ก็จะเหมือนกันทุกประการ ต่างกันแค่ใช้เล่าเรื่องราวในอดีต แค่นั้นเองจ้า 

ข้อควรรู้:

 

ม3 เน้นรูปอดีตโดยใช้ Did WasWere

 

เราจะไม่ย่อ รูปของ V. to be ในประโยคบอกเล่านะคะ อย่าลืมน๊า ตัวอย่างเช่น

Question: Did you hate him that much?

ผิด: Yes, I’m. 
ถูก: Yes, I did. ใช่แล้ว (ถาม Did ตอบ did นะคะ)

เป็นอย่างไรกันบ้างคะ ครูหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียนเรื่อง “Short question เน้นรูปอดีตโดยใช้ Did, Was, Were” จะเป็นประโยชน์กับทุกคนนะคะ อย่าลืมทบทวนบทเรียนปังๆ ได้ที่ด้านล่างนี้นะคะ 

Take care! ไปเรียนให้สนุกและได้ความรู้กันจ้า คลิกที่ปุ่มเพลย์เลยน๊า ดูแลสุขภาพด้วยเด้อ เลิฟๆ

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
เรียนพิเศษออนไลน์ ดูได้ทั้ง 4 รายวิชา - NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

การเขียนประกาศ เขียนเชิงกิจธุระได้อย่างไรบ้าง?

การเขียนเชิงกิจธุระหมายถึงหน้าที่ที่พึงกระทำ การเขียนเชิงกิจธุระมีมากมายหลายแบบ บทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ การเขียนประกาศ ซึ่งเป็นการเขียนเชิงกิจธุระรูปแบบหนึ่ง เราไปดูพร้อมกันเลยค่ะว่าการเขียนประเภทนี้จะมีวิธีการอย่างไรบ้าง   การเขียนเชิงกิจธุระ   การเขียนประกาศ   ประกาศ เป็นการสื่อสารที่ใช้เผยแพร่โดยกว้าง ให้บุคคลทุกระดับในหน่วยงานหรือบุคคลภายนอกได้อ่านและมีความเข้าใจที่ตรงกัน โดยอาศัยสื่อสาธารณะชนิดใดชนิดหนึ่งเป็นการแจ้งให้ทราบและปฏิบัติตาม อย่างเช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ป้ายประกาศต่าง ๆ การใช้ภาษาในการประกาศนั้นจะไม่ใช้ข้อความยาว ๆ

เรียนรู้ตัวบทเด่นของบทละครพูดคำฉันท์เรื่องดัง มัทนะพาธา

มัทนะพาธา เป็นบทละครพูดคำฉันท์ที่ประพันธ์โดยรัชกาลที่ 6 ซึ่งพระองค์ทรงคิดขึ้นเองไม่ได้แปลหรือดัดแปลงมาจากเรื่องใด จากการศึกษาความเป็นมาในบทเรียนคราวที่แล้วทำให้เราได้รู้ที่มา ลักษณะคำประพันธ์รวมไปถึงเรื่องย่อของเรื่องกันไปแล้ว บทเรียนในวันนี้เราจะศึกษาตัวบทเด่น ๆ ของเรื่องกันนะคะว่ามีบทใดที่ได้ชื่อว่าเป็นวรรคทอง ถอดความ พร้อมทั้งเรียนรู้คุณค่าของานประพันธ์ชิ้นนี้อีกด้วย ถ้าน้อง ๆ อยากรู้แล้วเราไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ   ตัวบทเด่น ๆ ใน มัทนะพาธา     ถอดความ บทนี้เป็นคำพูดของฤษีกาละทรรศินที่กำลังอธิบายให้ศุภางค์ แม่ทัพของท้าวชัยเสนว่าเหตุใดพระฤษีจึงเห็นว่าการห้ามปรามความรักระหว่างพระชัยเสนกับมัทนาเป็นสิ่งไร้ประโยชน์ โดยบอกว่า

การใช้คำคุณศัพท์และการเรียงคำคุณศัพท์

การใช้คำคุณศัพท์และการเรียงคำคุณศัพท์ คำคุณศัพท์ (Adjective) คืออะไร? ก่อนเราจะเริ่มเข้าเนื้อหา ทางผู้เขียนก็อยากจะพูดถึงความหมายและความสำคัญของคำคุณศัพท์ (Adjective) กันก่อน คำคุณศัพท์ (Adjectives) มักจะุถูกใช้ในการอธิบายลักษณะรูปร่างทางกายภาพของทั้งสิ่งของและสิ่งมีชีวิตที่รวมถึงตัวของมนุษย์เอง โดยที่เราจะมาเรียนกันวันนี้คือการที่บางครั้ง คำคุณศัพท์ (Adjective) นั้นจะมีลักษณะที่ถูกใช้อธิบายลักษณะทางกายภาพที่มากกว่าหนึ่งอย่าง ในภาษาไทยของเรา ก็มีการเรียกคำคุณศัพท์ หรือที่เรียกว่า order of adjective ด้วยเหมือนกัน จากศึกษาและพูดคุยกับนักศึกษาศาสตร์ พบว่า การใช้ภาษาไทยในปัจจุบันไม่ได้มีการกำหนดการเรียงลำดับคำคุณศัพท์แบบภาษาอังกฤษที่ชัดเจน

การอ่านแผนภูมิรูปวงกลม

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้การอ่านแผนภูมิรูปวงกลมรวมทั้งส่วนประกอบต่างที่ควรรู้เกี่ยวกับแผนภูมิรูปวงกลม

ภาษาชวา มลายู ในภาษาไทย มีลักษณะอย่างไร?

น้อง ๆ สงสัยกันไหมคะว่าในภาษาที่เราใช้พูดและใช้เขียนกันอยู่นี้ มีคำไหนบ้างที่ถูกหยิบยืมมาจากต่างประเทศ บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปทำความรู้จักและศึกษาลงลึกถึงภาษาชวาและมลายู เป็นอีกหนึ่งภาษาที่เข้ามามีอิทธิพลกับภาษาไทยมาตั้งแต่สมัยอดีต ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนรู้เรื่องนี้ด้วยกันเลยค่ะ   ความเป็นมาของการยืมคำจากภาษาชวา มลายู     ทางตอนใต้ของประเทศไทยติดต่อกับประเทศมาเลเซีย จึงทำให้มีการติดต่อค้าขายสานสัมพันธ์ไมตรีกันมาตั้งแต่สมัยอดีต โดยเดิมทีชาวชวาและชาวมลายูเคยใช้ภาษามลายูร่วมกัน ต่อว่าชาวชวามีภาษาเป็นของชนชาติตัวเอง แต่ก็ยังมีบางคำที่คล้ายคลึงกับภาษามลายูอยู่ 1. คำยืมภาษาชวา เพราะอิทธิพลของวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลายเรื่องดาหลังและอิเหนา วรรณคดีเรื่องนี้เป็นที่นิยมถูกนำมาปรับปรุงและประพันธ์เป็นบทละคร โดยในเรื่องมีภาษาชวาอยู่เยอะมาก ทำให้เป็นที่รู้จักและถูกหยิบยืมมาใช้ในการประพันธ์เรื่อยมา

phrasal verbs

Phrasal Verbs: กริยาวลีในภาษาอังกฤษ

สวัสดีน้องๆ ม. 4 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับ two-word verbs และ three-word verb ในภาษาอังกฤษกันครับ จะเป็นอย่างไรเราไปดูกันเลย

Nockacademy web logo 3

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1

Nockacademy web logo 3

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1