การใช้ Wh-questions  with  was, were

wh-questions + was, were

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.2 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง
การใช้ Wh-questions  with  was, were (Verb to be in the past)” ไปลุยกันเลยจร้า

Sit back, relax, and enjoy the lesson!
—นั่งพิงหลังชิวๆ ทำใจสบายๆ แล้วไปสนุกกับบทเรียนกันจร้า—

 

โครงสร้างของ Wh-Questions + was, were

 

 การใช้ Question word ในการถามและตอบคำถามเมื่อกริยาในประโยคเป็น be ( verb to be ) ทำได้ตามโครงสร้างดังนี้ค่ะ

NokAcademy_ม2 การใช้ Yes_No Questions  และ Wh-Questions (5)

” Wh+ was+ subject (singular)+ ……………. ? ——กรณีประธานเอกพจน์
” Wh+ were+ subject (plural)+ ……………. ?” ——กรณีประธานพหูพจน์

 

ตัวอย่าง (Examples) ดังในตารางแสดงการถามเหตุการณ์ในอดีต

 

ประโยคคำถาม

Liza:
Where (ที่ไหน)

was he
she
it
I
last week?
(สัปดาห์ที่แล้ว)
were you
we
they
ประโยคคำตอบ

Jenny:
He (เขาผู้ชาย)
She (เขาผู้หญิง)
It (มัน)
I (ฉัน)

was at the concert
(ที่คอนเสิร์ต)
yesterday.
(เมื่อวานนี้)
You (เขา)
We (พวกเรา)
They (พวกเขา)
were

 

 ถามมา-ตอบไป

กับโครงสร้าง: Wh-Question + was, were +…? VS…. Wh-Question + did+subject+..?

 

ประโยคคำถาม ประโยคคำตอบ
Where were  you go last week?
อาทิตย์ก่อนเธอไปไหนมา
I went to my grandmother’s funeral.
ฉันไปงานศพคุณยายมา
What was your elementary school?
โรงเรียนประถมของคุณคือโรงเรียนอะไร
My elementary school was NockAcademy school.
โรงเรียนประถมของผมคือ โรงเรียนนกอะคาเดมี
When did you travel to England?
คุณไปประเทศอังกฤษตอนไหน
I went to England 2 years ago.
ฉันไปประเทศอังกฤษเมื่อสองปีที่แล้ว
Why did he study at NockAcademy school ?
ทำไมเขาถึงเรียนที่โรงเรียนนกอะคาเดมี
Because his parents wanted him to study there.
เพราะว่าพ่อกับแม่ของเขาต้องการให้เขาเรียนที่นั่น
How was your party lastnight?
ปาร์ตี้เมื่อคืนของคุณเป็นยังไงบ้าง
It was very fun.
มันสนุกมากเลย

Wh-Question+ Past Simple Tense

 

NokAcademy_ม2การใช้ Wh-questions กับ Past Simple Tense (5)

 

 

 โครงสร้างประโยคคำถามเมื่อใช้ร่วมกับ Wh-Questions ชนิดต่างๆ:

Wh-Question + Did + Subject + Verb infinitive+…?

เช่น

Where did you go last week?
ไปไหนมาสัปดาห์ที่แล้ว

โครงสร้างประโยคบอกเล่า (ตอบ): Subject + Verb 2 หรือ Verb เติม -ed+…

สรุปการใช้:
ใช้กับเหตุการณ์ หรือการกระทำที่เกิดขึ้นและจบลงในอดีต มักมีคำหรือกลุ่มคำของอดีตมากำกับ เช่น last year ปีที่แล้ว, yesterday เมื่อวานนี้, in 1995 ในปี ค.ศ. 1995, in the past ในอดีต

 

 

 สรุปหลักการใช้ Wh-Questions ในอดีตที่ผ่านมา เกิดขึ้นและจบลงแล้ว

 

NokAcademy_ม2การใช้ Wh-questions กับ Past Simple Tense (6)

  • Past Simple Tense จะใช้ถาม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและจบลงไปแล้วในอดีตมักมีคำบอกเวลาว่า ago, yesterday, last week, etc.
    เพราะฉนั้นหากมีการใช้คำถามควบคู่กับ Wh-Questions ให้นักเรียนเข้าใจไว้เลยว่า มันเป็นการถามเกี่ยวกับเรื่องราวในอดีต
    นั่นเองค่า

เป็นอย่างไรกันบ้างคะขอให้สนุกกับการอ่านบทเรียนนี้กันนะคะ นักเรียนที่รักทุกคนอย่าลืมทบทวนบทเรียนเรื่อง Past Simple Tense กับ Time Expression ได้ที่วีดีโอด้านล่างเพิ่มเติม เพื่อจะได้เข้าใจมากขึ้นนะคะ  เลิฟๆ

ทบทวน Wh-Questions 

 

NokAcademy_ม2 การใช้ Yes_No Questions  และ Wh-Questions (3)

 

 เมื่อต้องถามคำถามอะไรก็ตามที่ไม่ต้องการคำตอบ Yes หรือ No แบบตรงประเด็น เราจะเรียกคำถามประเภทนี้ว่า Question  words หรืออีกชื่อในวงการคือ Wh-Questions ซึ่งได้แก่คำถามที่มักจะขึ้นต้นด้วย Wh- เช่น What, When, Where , Why, Whose, Which, Whom, Who

***เป็นกลุ่มคำถามที่ต้องการ คำตอบ เจาะจงอธิบาย ขยายความ 

 

ประเภทของ Wh-Questions + Verb to be (was, were)

 

NokAcademy_ม2 การใช้ Yes_No Questions  และ Wh-Questions (4)

ครูขอยกตัวอย่าง การใช้ Wh-Questions ร่วมกับ กริยา Verb to be “was, were” เพื่อให้ทุกคนได้เห็นภาพและความแตกต่าง ของการถามคำถามตระกูล “Wh-Questions” เมื่อจะต้องนำไปใช้ในบริบทที่แตกต่างกันนะคะ  ดังตัวอย่างด้านล่างเลยจร้า

 

When = เมื่อไร

เมื่อใช้ขึ้นต้นคำถามที่ต้องการถามเกี่ยวกับเวลา เช่น

  • When was your first time travelling outside of the country?
    = คุณไปเที่ยวต่างประเทศครั้งแรกตอนไหน

 

What = อะไร

ใช้ขึ้นต้นคำถามที่ต้องการถามใช้ถามเกี่ยวกับสิ่งของ ชื่อ วันที่ เวลา สิ่งที่รักที่ชอบ ใช้ถามได้ทั้ง อดีต ปัจจุบัน และอนาคต จร้า
มีตัวอย่างดังนี้ค่า

  • What was your favourite travel destination in the past?
    แปล สถานที่ท่องเที่ยวที่คุณชอบไปคือที่ไหน (ถามในอดีต)

 Where = ที่ไหน

ใช้ขึ้นต้นคำถามที่ต้องการถามใช้ถามเกี่ยวกับสถานที่ เช่น

  • Where was he on vacation last year?
    แปล เขาไปเที่ยวพักผ่อนวันหยุดที่ไหนเมื่อปีที่แล้ว (ถามในอดีต)

 

Why = ทำไม

ใช้เมื่อขึ้นต้นคำถามที่ต้องการถามใช้ถามเกี่ยวกับเหตุผล เช่น

  • Why were you trying to hike while it was raining like that?
    แปล ทำไมนายพยายามไต่เขาในขณะที่ฝนกำลังตกแบบนั้น

 

Who = ใคร

ใช้เมื่อขึ้นต้นคำถามที่ต้องการถามใช้ถามเกี่ยวกับบุคคล (ส่วนมากจะตอบเป็นชื่อบุคคล) เช่น

  • Who was knocking at the door while you were sleeping lastnight?
    แปล ใครกันนะมาเคาะประตูขณะที่เธอกำลังนอนอยู่เมื่อคืนนี้

Whose = ของใคร

ใช้ขึ้นต้นคำถามที่ต้องการถามใช้ถามเกี่ยวกับการแสดงความเป็นเจ้าของ  เช่น

  • Whose house was the host of the party lastnight?
    แปล บ้านใครกันนะเป็นเจ้าภาพงานปาร์ตี้เมื่อคืนนี้

 

Whom = ใคร (ใช้เป็นกรรม)

ใช้ขึ้นต้นคำถามที่ต้องการถามใช้ถามเกี่ยวกับบุคคล  เช่น

  • Whom was your adoptive father ?
    แปล ใครกันนะคือพ่อเลี้ยงของเธอ

 

Which = อันไหน/สิ่งไหน

ใช้ขึ้นต้นคำถามที่ต้องการถามเพื่อให้เลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือ ทำว่าสิ่งไหน อันไหน ดังประโยคด้านล่างนะคะ

  • Which summer was your best experience in the past years?
    แปล ซัมเมอร์ไหนที่คุณรู้สึกมีความสุขที่สุด (ประสบการณ์ที่ดีมากในอดีตที่ผ่านมา)

 

How = อย่างไร/เท่าไร

ตัวอย่างเช่น

  • How long were we going to school druing the trafic-jammed?
    แปลว่า เราจะต้องใช้เวลานานเท่าไหร่เพื่อขับรถไปฟลอริดา (ถามในอดีต)

*****เพิ่มเติม: How ไม่ใช่ Wh-questions แต่ว่า มักเจอบ่อยในบทสนทนา  

 

การใช้ Past Continuous ร่วมกับ Wh-questionsมักใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในอดีตพร้อมกัน ในขณะใดขณะหนึ่ง และมักเจอคำว่า while
เมื่อเราใช้ wh-questions เข้ามาก็เพื่อให้ทราบว่า ประธานกำลังทำอะไร ที่ไหน อย่างไร กับใคร เพราะอะไร นั่นเองจร้า

เป็นอย่างไรกันบ้างคะ ครูหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทความนี้จะเป็นประโยชน์กับทุกคนนะคะ อย่าลืมทบทวนบทเรียนปังๆ ได้ที่ด้านล่างนี้นะคะ Click “play” and enjoy the lesson guys! Take care! ไปเรียนให้สนุกและได้ความรู้กันจร้า คลิกที่ปุ่มเพลย์เลยน๊า ดูแลสุขภาพด้วยเด้อ เลิฟๆ

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ

การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ อ่านอย่างไรให้ถูกต้อง

ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะชมสื่อต่าง ๆ หรือพูดคุยในชีวิตประจำวัน เราก็มักจะเจอคนที่อ่านออกเสียงคำควบกล้ำไม่ชัดอยู่บ่อยครั้ง โดยเฉพาะคำที่เป็น ร หรือ ล ทำให้การสื่อสารอาจผิดพลาดไปเลยก็ได้ ดังนั้น การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ ให้ถูกต้องจึงถือเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างมาก บทเรียนในวันนี้ นอกจากน้อง ๆ จะได้เรียนรู้เกี่ยวกับคำควบกล้ำว่ามีอะไรบ้างแล้ว ก็ยังจะได้รู้วิธีอ่านออกเสียงอีกด้วย ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ   คำควบกล้ำ คำควบกล้ำ (อักษรควบ) หมายถึง พยัญชนะสองตัวเขียนเรียงกันอยู่ต้นพยางค์และใช้สระเดียวกัน

มนุสสภูมิ ตอนที่ว่าด้วยกำเนิดของมนุษย์ในไตรภูมิพระร่วง

ไตรภูมิพระร่วงมีจุดมุ่งหมายที่จะชี้ให้เห็นคุณและโทษของโลกทั้งสามที่ไม่แน่นอน เพื่อที่จะให้มนุษย์ตระหนักถึงกรรมดีและกรรมชั่วและพบกับความสุขไม่ว่าจะอยู่ในโลกไหน โดยในตอน มนุสสภูมิ นี้ก็ได้กล่าวถึงการกำเนิดมนุษย์ที่อธิบายโดยใช้หลักความเชื่อทางพุทธศาสนามาอธิบายจึงทำให้วรรณคดีเรื่องนี้เป็นอีกเรื่องที่มีความสนใจเป็นอย่างมากเลยล่ะค่ะ จากที่ครั้งก่อนเราได้เรียนเรื่องนี้กันไปแล้วในส่วนของที่มาและความสำคัญและเนื้อเรื่องย่อ บทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้เพิ่มเติมแต่เป็นเรื่องของตัวบทเพื่อถอดคำประพันธ์ รวมไปถึงศึกษาคุณค่าที่ปรากฏในเรื่องด้วยค่ะ ถ้าพร้อมแล้วเราไปดูกันเลย ตัวบทเด่น ๆ ในไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ     ถอดความ เป็นการอธิบายถึงวิวัฒนาการของทารกในครรภ์ตั้งแต่เริ่มเป็นเซลล์ โดยอธิบายว่าไม่ว่าจะเกิดเป็นชายหรือหญิง ก็จะเริ่มจากการเป็นกลละ แล้วโตขึ้นทีละน้อย เมื่อถึง 7

สมมูลและนิเสธ

สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ

“สมมูลและนิเสธ” ของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ สมมูลและนิเสธ เราเคยเรียนกันไปแล้วก่อนหน้านี้ แต่เป็นของประพจน์ p, q, r แต่ในบทความนี้จะเป็นสมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ ซึ่งก็จะเอาเนื้อหาก่อนหน้ามาปรับใช้กับประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ สิ่งที่เราจะต้องรู้และจำให้ได้ก็คือ การสมมูลกันของประพจน์ เพราะจะได้ใช้ในบทนี้แน่นอนน ใครที่ยังไม่แม่นสามารถไปอ่านได้ที่ บทความรูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน  นิเสธของตัวบ่งปริมาณ เมื่อเราเติมนิเสธลงไปในประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ ข้อความต่อไปนี้จะสมมูลกัน กรณี 1 ตัวแปร ∼∀x[P(x)] ≡ ∃x[∼P(x)] ∼∃x[P(x)]

เรียนออนไลน์ คณิตศาสตร์

การตรวจสอบคู่อันดับที่เป็นความสัมพันธ์

การตรวจสอบคู่อันดับที่เป็นความสัมพันธ์ การตรวจสอบคู่อันดับที่เป็นความสัมพันธ์ คือการตรวจสอบคู่อันดับว่าคู่ไหนเป็นความสัมพันธ์ที่ตรงกับเงื่อนไขที่กำหนด จากที่เรารู้กันในบทความเรื่อง ความสัมพันธ์ว่า r จะเป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r เป็นสับเซตของ A × B แต่ถ้าเราใส่เงื่อนไขบางอย่างเข้าไป ความสัมพันธ์ r ที่ได้ก็อาจจะจะเปลี่ยนไปด้วย แต่ยังคงเป็นสับเซตของ A × B เหมือนเดิม

การโต้วาที

โต้วาที และยอวาที แต่งต่างกันอย่างไร?

การพูดมีมากมายหลายประเภท แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้พูดว่าต้องการจะสื่อสารออกมาในรูปแบบใด แต่จะมีอยู่ประเภทหนึ่งที่มีหัวข้อให้พูดและต้องแบ่งออกเป็นสองฝ่าย โดยไม่ได้มีเจตนาเพื่อมาทะเลาะกัน เพราะเรากำลังหมายถึงการพูดโต้วาทีและการยอวาที ที่เป็นการพูดแสดงความคิดเห็นในลักษะที่ต่างกัน แต่จะต่างกันอย่างไรบ้างนั้น เราไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ   การโต้วาที     การโต้วาที เป็นการแสดงความคิดเห็นโต้แย้งด้วยเหตุผลเพื่อให้ชนะอีกฝ่าย โดยจะแบ่งผู้พูดออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายญัตติและฝ่ายคัดค้านญัตติ และมีกรรมการคอยตัดสินว่าจะให้ฝ่ายใดชนะ โดยแต่ละฝ่ายจะต้องมีข้อมูลเพื่อมาสนับสนุนการพูดของตัวเอง หักล้างแนวคิดของอีกฝ่ายและต้องมีปฏิภาณไหวพริบ   องค์ประกอบของการโต้วาที  

ภาษาชวา มลายู ในภาษาไทย มีลักษณะอย่างไร?

น้อง ๆ สงสัยกันไหมคะว่าในภาษาที่เราใช้พูดและใช้เขียนกันอยู่นี้ มีคำไหนบ้างที่ถูกหยิบยืมมาจากต่างประเทศ บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปทำความรู้จักและศึกษาลงลึกถึงภาษาชวาและมลายู เป็นอีกหนึ่งภาษาที่เข้ามามีอิทธิพลกับภาษาไทยมาตั้งแต่สมัยอดีต ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนรู้เรื่องนี้ด้วยกันเลยค่ะ   ความเป็นมาของการยืมคำจากภาษาชวา มลายู     ทางตอนใต้ของประเทศไทยติดต่อกับประเทศมาเลเซีย จึงทำให้มีการติดต่อค้าขายสานสัมพันธ์ไมตรีกันมาตั้งแต่สมัยอดีต โดยเดิมทีชาวชวาและชาวมลายูเคยใช้ภาษามลายูร่วมกัน ต่อว่าชาวชวามีภาษาเป็นของชนชาติตัวเอง แต่ก็ยังมีบางคำที่คล้ายคลึงกับภาษามลายูอยู่ 1. คำยืมภาษาชวา เพราะอิทธิพลของวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลายเรื่องดาหลังและอิเหนา วรรณคดีเรื่องนี้เป็นที่นิยมถูกนำมาปรับปรุงและประพันธ์เป็นบทละคร โดยในเรื่องมีภาษาชวาอยู่เยอะมาก ทำให้เป็นที่รู้จักและถูกหยิบยืมมาใช้ในการประพันธ์เรื่อยมา

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1