คำไทยที่มักอ่านผิด มีคำใดบ้างที่เราควรรู้?

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

การอ่านผิด เป็นปัญหาในการอ่านออกเสียง มีสาเหตุมาจากอ่านไม่ออก หรือ อ่านผิด หลายคนอาจมองว่าไม่สำคัญ แต่รู้หรือไม่คะ ว่าการอ่านนั้นมีความสำคัญอย่างมาก โดยเฉพาะหากเราอ่านผิด ก็จะทำให้ความหมายของคำนั้นผิดเพี้ยนไป หรือกลายเป็นคำที่ไม่มีความหมายไปเลยก็ได้ บทเรียน คำไทยที่มักอ่านผิด ในวันนี้ เราจะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้การอ่านสะกดคำที่ถูกต้อง กับคำในภาษาไทยที่คนส่วนใหญ่มักอ่านผิดกันบ่อย ๆ จะมีคำใดบ้าง ไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ

 

คำไทยที่มักอ่านผิด

 

ลักษณะของการอ่านผิดมีดังนี้

 

คำไทยที่มักอ่านผิด

 

– อ่านคำที่มีอักษรนำผิด

เช่น ปรำปรา (ปะ-รำ-ปะ-รา) อ่านเป็น (ปัม-ปา)

ขมุกขมัว (ขะ-หมุก-ขะ-หมัว) อ่านเป็น (ขะ-มุก-ขะมัว)

– คำพ้องรูป

เช่น เพลา (เพา) กับ เพลา (เพ-ลา)

แหน (แหน) กับ แหน (อ่านออกเสียงเป็น น สะกด)

– อ่านคำหรือข้อความที่มีเครื่องหมายประกอบผิด

เช่น คำที่มีเครื่องหมาย ไปยาลน้อย (ฯ) ได้แก่ โปรดเกล้าฯ ที่จะอ่านว่า โปรดเกล้า ไปยาลน้อยไม่ได้ แต่ต้องอ่านเป็นประโยคเต็มว่า โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม

– อ่านแยกคำหรืออ่านแบ่งวรรคตอนผิด

เข่น โฉนด (ฉะ-โหนด) อ่านเป็น (โฉ-นด)

 

ตัวอย่างคำที่มักอ่านผิด

 

คำไทยที่มักอ่านผิด

 

  • ประสบการณ์ (ประ-สบ-กาน) มักอ่านผิดเป็น ประ-สบ-มะ-กาน
  • สวรรคต (สะ-หวัน-คด) มักอ่านผิดเป็น (สะ-หวัน-นะ-คด)
  • เกษตรกรรม (กะ-เสด-ตระ-กำ) มักอ่านผิดเป็น (กะ-เสด-ตะ-กำ)
  • ขวนขวาย (ขวฺน-ขวาย) มักอ่านผิดเป็น (ขวน-ขวาย)

 

คำไทยที่มักอ่านผิด

 

การอ่านผิดถือเป็นอีกหนึ่งปัญหาที่สำคัญ ที่น้อง ๆ ทุกคนควรใส่ใจและตระหนักถึงการสะกดคำที่ถูกต้อง เพราะถ้าหากเราอ่านผิดกันบ่อยมากขึ้น และไม่สนใจคำที่ถูกต้อง ก็จะเป็นการทำลายภาษาอันทรงคุณค่าที่มีมาอย่างยาวนานของเราไปอย่างไม่รู้ตัว โดยวิธีที่ง่ายที่สุดคือลองอ่านออกเสียงบ่อย ๆ เพื่อให้จำคำที่ถูกต้องได้ โดยคำต่าง ๆ ที่ยกมาในตัวอย่าง น้อง ๆ สามารถตามไปชมคลิปการสอนของครูอุ้มเพื่อฟังวิธีการออกเสียงของคำที่ถูกต้องได้ และอย่าลืมออกเสียงตามเพื่อฝึกออกเสียงกันด้วยนะคะ

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

การโต้วาที

โต้วาที และยอวาที แต่งต่างกันอย่างไร?

การพูดมีมากมายหลายประเภท แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้พูดว่าต้องการจะสื่อสารออกมาในรูปแบบใด แต่จะมีอยู่ประเภทหนึ่งที่มีหัวข้อให้พูดและต้องแบ่งออกเป็นสองฝ่าย โดยไม่ได้มีเจตนาเพื่อมาทะเลาะกัน เพราะเรากำลังหมายถึงการพูดโต้วาทีและการยอวาที ที่เป็นการพูดแสดงความคิดเห็นในลักษะที่ต่างกัน แต่จะต่างกันอย่างไรบ้างนั้น เราไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ   การโต้วาที     การโต้วาที เป็นการแสดงความคิดเห็นโต้แย้งด้วยเหตุผลเพื่อให้ชนะอีกฝ่าย โดยจะแบ่งผู้พูดออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายญัตติและฝ่ายคัดค้านญัตติ และมีกรรมการคอยตัดสินว่าจะให้ฝ่ายใดชนะ โดยแต่ละฝ่ายจะต้องมีข้อมูลเพื่อมาสนับสนุนการพูดของตัวเอง หักล้างแนวคิดของอีกฝ่ายและต้องมีปฏิภาณไหวพริบ   องค์ประกอบของการโต้วาที  

vowel sounds

การออกเสียงสระในภาษาอังกฤษ: English Vowel Sounds

สวัสดีน้องๆ ป. 6 ทุกคนนะครับ อาทิตย์ที่แล้วพี่ได้อธิบายเรื่องการออกเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษกันไปแล้ว คราวนี้เราจะมาลองดูเสียงสระในภาษาอังกฤษกันครับว่ามีอะไรบ้าง ไปดูกันเลย!

conjunctions

เรียนรู้การใช้คำสันธาน (Conjunctions) ในภาษาอังกฤษ

สวัสดีน้องๆ ม. 3 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับ Conjuctions หรือคำสันธานในภาษาอังกฤษ พร้อมวิธีการใช้คำสันธานในประโยคแบบเข้าใจง่ายๆ กันครับ

วงกลม

วงกลม

วงกลม วงกลม ประกอบด้วยจุดศูนย์กลาง (center) เส้นผ่านศูนย์กลาง และรัศมี (radius) สมการรูปแบบมาตรฐานของวงกลม สมการรูปแบบมาตรฐานของวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ (h, k) คือ (x-h)² + (y-k)² = r² จากสมการ จะได้ว่า มีจุดศูนย์กลางที่ (h, k) และรัศมี r จะเห็นว่าถ้าเรารู้สมการมาตรฐานเราจะรู้รัศมี

phrasal verbs

Phrasal Verbs: กริยาวลีในภาษาอังกฤษ

สวัสดีน้องๆ ม. 4 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับ two-word verbs และ three-word verb ในภาษาอังกฤษกันครับ จะเป็นอย่างไรเราไปดูกันเลย

ป6การใช้ love, like, enjoy, hate ในการเเต่งประโยค

การใช้ love, like, enjoy, hate ในการเเต่งประโยค

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.6 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง การใช้  love, like, enjoy, hate ในการเเต่งประโยค หากพร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลดเด้อ Let’s go!   โครงสร้าง: In my free time/ In my spare time,…     In my

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1