เรียนรู้สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์

Picture of Chisanucha
Chisanucha

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

จากที่เราได้เรียนรู้ในเรื่องของสำนวนกันมามากแล้ว ไม่ว่าจะเป็นความหมาย ที่มา ลักษณะ ความสำคัญ หรือคุณค่า รวมไปถึงตัวอย่างสำนวนไทยน่ารู้ที่เราได้ยกมาแล้วอธิบายความหมาย แต่น้อง ๆ สังเกตไหมคะว่า สำนวนไทยมีหลายสำนวนเลยที่มักจะเกี่ยวข้องกับสัตว์ สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์ ไม่ได้มีขึ้นเพื่อกล่าวถึงสัตว์ตรง ๆ แต่เป็นการนำสัตว์มาเปรียบเทียบกับคน บทเรียนในวันนี้ จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้กันว่าสัตว์แต่ละชนิดแทนพฤติกรรมไหนของคน และจะมีสำนวนใดบ้างที่เราควรรู้ ถ้าพร้อมแล้ว ไปดูกันเลยค่ะ

 

สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์

 

ทัศนคติของคนไทยที่มีต่อสัตว์มาจากลักษณะรูปร่างและนิสัยที่โดดเด่นบางประการของสัตว์จึงนำสิ่งเหล่านั้นมาเปรียบเทียบกับคน

 

สัตว์ในสำนวนไทย

 

สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์

 

1. สัตว์ที่ถูกเปรียบเทียบในเชิงบวก มีอำนาจ กล้าหาญ จะเป็นสัตว์ที่มีรูปร่างสง่า เช่น ช้าง เสือ สิงโต นกอินทรี

2. สัตว์ที่ถูกเปรียบเทียบในเชิงลบ มีรูปลักษณ์หรือมีนิสัยที่ผิดศีลธรรมขัดกับขนบธรรมเนียมประเพณีไทยจึงถูกนำไปเปรียบกับคนเลวหรือสิ่งเลวร้าย เช่น คางคก เสือ จระเข้ ตัวเงินตัวทอง กา หมา หมู ควาย

 

ตัวอย่างสำนวน

 

สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์

 

ที่มาของสำนวน :

นำพฤติกรรมของแมวมาเปรียบเทียบ เพราะแมวมักมีนิสัยชอบไล่จับหนู ทำให้หนูต้องวิ่งหนีและกลัวอยู่เสมอ บ้านไหนมีแมว บ้านนั้นก็จะไม่มีหนู แต่ถ้าไม่มีแมว พวกหนูก็จะมีความสุขคึกคะนอง ออกมาหากินได้อย่างเพลิดเพลิน เพราะไม่ต้องกลัวแมวจะมาทำร้าย

 

สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์

 

ที่มาของสำนวน :

มาจากลักษณะของไก่ที่สวยเพราะมีขนปกคลุมร่างกาย จึงเอามาเปรียบกับคนที่จะสวยก็ต่อเมื่อต้องแต่งตัวหรือแต่งหน้าดี ๆ

 

 

ที่มาของสำนวน :

ที่มาขอสำนวนนี้ มาจากการนิทานที่กล่าวถึงกบตัวหนึ่งที่ถูกขังอยู่ในกะลามาตั้งแต่ยังเล็ก โดยที่ไม่ได้ออกมาสู่โลกภายนอกเลยคิดว่าตัวเองรู้ทุกอย่างภายในโลกกะลาของตัวเองอย่างดี จนมีวันหนึ่งกะลานั้นแตกและกบหลุดออกมาภายนอกกะลาที่ครอบตัวเองอยู่ จึงรู้และเข้าใจว่าโลกภายนอกนั้น มีหลายสิ่งมากมายที่ตัวเองนั้นไม่รู้

 

 

ที่มาของสำนวน :

มาจากมโหสถชาดก เป็นเรื่องราวครั้งที่พระพุทธเจ้าเสวยพระชาติเป็นมโหสถ บัณฑิตเจ้าปัญญา อยู่มาวันหนึ่งมีกิ้งก่าเดินมามอบต่อหน้าพระราชาทำให้พระราชาคิดว่ามันเป็นกิ้งก่าแสนรู้ มโนสถจึงแนะนำนให้พระราชาพระราชทานเนื้อให้กิ้งก่าตัวนั้น เมื่อกิ้งก่าได้กินเนื้อทุกวันก็ทำความเคารพพระราชาทุกวัน แต่มีอยู่วันหนึ่งที่ไม่มีเนื้อ ทำให้พระราชาเอาทองมาคล้องคอกิ้งก่าแทนเป็นรางวัล กิ้งก่าที่มีทองจึงหลงคิดว่าตัวเองเทียบเท่าพระราชาแล้วจึงไม่ต้องการที่จะทำความเคารพอีกต่อไป พระราชาจึงสั่งให้ฆ่ากิ้งก่าทิ้ง แต่มโหสถห้ามไว้ สุดท้ายกิ้งก่าตัวนั้นก็ไม่ได้รับทั้งทองและเนื้ออย่างที่เคยได้อีกต่อไป แต่นอกจากตำนานแล้ว กิ้งก่าก็มีลักษณะที่เหมือนชูคอขึ้นอยู่ตลอดเวลาทำให้ถูกนำมาเปรียบเทียบกับลักษณะของคนที่ทะนงตน

 

 

สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์ยังอีกมากมายหลายสำนวน เพราะคนไทยมีทัศนคติต่อสัตว์แตกต่างกัน นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมของคนไทยในอีกหลาย ๆ ด้านอีกด้วย เรียกได้ว่านอกจากจะได้ความรู้ทางภาษาแล้วยังได้เรียนรู้เรื่องอื่น ๆ ไปในตัวด้วยอีกต่างหาก สุดท้ายนี้อย่าลืมไปชมคลิปการสอนของครูอุ้มที่อธิบายความหมายของแต่ละสำนวนไว้ด้วยนะคะ ถึงแม้ว่าเราจะเรียนเรื่องสำนวนกันมามากแล้วแต่รับรองว่าไม่น่าเบื่อแน่นอนค่ะ ไปชมกันเลย

 

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

Profile

การตั้งประโยคคำถามแบบมีกริยาช่วยนำหน้าและ Wh-questions

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.1 ทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดู ความแตกต่างของ ประโยคคำถามที่มีกริยาช่วยนำหน้า กับ Wh-questions กันค่ะ พร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย มารู้จักกับกริยาช่วย   Helping verb หรือ Auxiliary verb กริยาช่วย หรือ ภาษาทางการเรียกว่า กริยานุเคราะห์  คือกริยาที่วางอยู่หน้ากริยาหลัก (Main verb) ในประโยค  ทำหน้าที่ช่วยกริยาอื่นให้มีความหมายตาม

การเขียนเรียงความ

เทคนิคการเขียนเรียงความง่าย ๆ ที่จะช่วยถ่ายทอดความคิดให้เป็นขั้นตอน

การเขียนเรียงความ เป็นทักษะการเขียนที่มีสำคัญมาก เพราะเป็นการถ่ายทอดความคิดให้ออกมาอยู่ในรูปของตัวอักษร จะมีวิธีเขียนอย่างไรบ้างนั้น บทเรียนในวันนี้จะทำให้น้อง ๆ มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการเขียนเรียงมากขึ้น จะเป็นอย่างไรนั้น ไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ     เรียงความ เป็นทักษะการเขียนที่แสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิด ความเห็น ความเข้าใจของผู้เขียน มีรูปแบบและวิธีการเขียนที่มีแบบแผน เพื่อถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นตัวอักษรให้น่าอ่าน และยังเป็นพื้นฐานของการเขียนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นบทความหรือนวนิยายอีกด้วย โดยประเภทของการเขียนเรียงความมีดังนี้ 1. เรื่องที่เขียนเพื่อความรู้ 2. เรื่องที่เขียนเพื่อความเข้าใจ

เรียนรู้บทร้องกรองสุภาษิต ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน

การนำสุภาษิตมาแต่งเป็นบทร้อยกรอง เรียกว่า บทประพันธ์ร้อยกรองสุภาษิต ซึ่งบทที่น้อง ๆ จะได้เรียนกันในวันนี้คือบทร้อยกรองสุภาษิตเรื่อง ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน เราไปดูกันเลยค่ะว่าที่มจากของบทร้อยกรองนี้จะเป็นอย่างไร มาจากสุภาษิตอะไร รวมไปถึงถอดความหมายตัวบท ศึกษาคำศัพท์ที่น่ารู้และศึกษาคุณค่าที่อยู่ในเรื่องด้วยค่ะ ถ้าพร้อมแล้วเราไปดูพร้อมกันเลย   ความเป็นมา ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน     ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ผู้แต่งคือ นายเพิ่ม สวัสดิ์วรรณกิจ เป็นบทร้อยกรองประเภทกลอนแปด พิมพ์รวมอยู่ในหนังสือบทประพันธ์อธิบายสุภาษิตของวรรณคดีสมาคมแห่งประเทศไทย    

เส้นตรง

เส้นตรง

เส้นตรง เส้นตรง มีสมการรูปแบบทั่วไปคือ Ax + By + C = 0 และสมการรูปแบบมาตรฐานของเส้นตรงจะเขียนอยู่ในรูป y = mx + C ซึ่งจะอยู่ในหัวข้อ “สมการเส้นตรง” เส้นตรงหนึ่งเส้นประกอบไปด้วยจุดหลายจุด ซึ่งจุดเหล่านี้จะทำให้เราสามารถหาความชันได้ และเมื่อเราทราบความชันก็จะสามารถหาสมการเส้นตรงได้นั่นเอง ความชันของเส้นตรง ความชันของเส้นตรง ส่วนใหญ่นิยมใช้ m

การคูณเศษส่วนและจํานวนคละ

การคูณเศษส่วนและจํานวนคละ

บทความนี้จะพาน้อง ๆมารู้จักกับการคูณเศษส่วนและจำนวนคละ รวมถึงเทคนิคการคูณเศษส่วนและจำนวนคละที่ถูกต้องและรวดเร็ว หลังจากอ่านบทความนี้จบสิ่งที่จะได้รับก็คือหลักการคูณเศษส่วนและจำนวนคละประเภทต่าง ๆ การตัดทอนเศษส่วนจำนวนคละและตัวอย่างการคูณเศษส่วนจำนวนคละที่เข้าใจง่ายและเห็นภาพ สามารถนำไปใช้ได้จริงในห้องเรียน

แบบฝึกหัดการให้เหตุผล

แบบฝึกหัดการให้เหตุผล

แบบฝึกหัดการให้เหตุผล   แบบฝึกหัดการให้เหตุผล ประกอบไปด้วยการให้เหตุผลแบบอุปนัยและการให้เหตุผลแบบนิรนัย ซึ่งแบบฝึกหัดนี้จะช่วยให้น้องๆได้ฝึกฝนการทำโจทย์จนน้องๆเชี่ยวชาญและส่งผลให้น้องๆทำข้อสอบได้แบบไม่ผิดพลาด ถ้าเรารู้เฉยๆเราอาจจะทำข้อสอบได้แต่การที่เราฝึกทำโจทย์ด้วยจะทำให้เราทำข้อสอบได้แน่นอนค่ะ แบบฝึกหัดเพิ่มเติมและข้อสอบ O-Net ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นข้อสอบ O-Net ของปีก่อนๆ   1.) พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้ ก. เหตุ 1. ถ้าฝนไม่ตกแล้วเดชาไปโรงเรียน   2. ฝนตก      ผล   

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1