โจทย์ปัญหาการวัด ม.2

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้ตัวอย่างโจทย์การแปลงหน่วย และหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตต่างๆ พร้อมทั้งเรียนรู้การใช้สูตรที่เร็วขึ้น

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

การวัดพื้นที่ของรูปเรขาคณิตต้องรู้จักหน่วยทุกแบบล้วนเพราะจำเป็นต่อ การซื้อ – ขาย การก่อสร้าง ไปจนถึงการใช้ชีวิตประจำวัน ซึ่งแต่ละแบบก็มีวิธีแปลงหน่วยพื้นที่แตกต่างกันออกไป ลองมาทำความรู้จักกับหน่วยวัดพื้นที่และการแปลงหน่วย รวมทั้งที่โจทย์ปัญหาการวัดพื้นที่ด้วยวิธีง่ายๆที่จะมาช่วยคำนวณได้เร็วขึ้น

โจทย์ปัญหาการวัดพื้นที่

ข้อสังเกต  1. รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีฐานเท่ากันและความสูงเท่ากัน จะมีพื้นที่เท่ากันเสมอ

การวัดพื้นที่

จากรูปจะได้ว่า

พื้นที่ DABCD = พื้นที่ DABEF = พื้นที่ DABHG = พื้นที่ CABXY

  1. รูปสามเหลี่ยมที่มีฐานยาวเท่ากันกับฐานของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน และมีความสูงเท่ากับความสูงของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมจะเป็นครึ่งหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยม
  2. รูปสี่เหลี่ยมที่เกิดจากการต่อจุดกึ่งกลางของด้านทั้งสี่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานหรือรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากจะมีพื้นที่เป็นครึ่งหนึ่งของรูปเดิม

ตัวอย่างที่ 1 รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานรูปหนึ่งมีฐานยาว a  หน่วยและความสูง b หน่วย ถ้าเพิ่มฐานขึ้นอีก 25% และลดความสูงลง 25% พื้นที่ใหม่จะเป็นเศษส่วนเท่าไรของพื้นที่รูปเดิม

วัดพื้นที่

ตัวอย่างที่ 2  ABCDE เป็นที่ดินแปลงหนึ่ง ซึ่งต้องการขายในราคาตารางเมตรละ 1,000 บาท และจากการวัดความยาวของส่วนต่างๆ ดังรูป เจ้าของที่ขายที่ดินแปลงนี้ได้เงินเท่าไร

ตัวอย่างการหาพื้นที่

ตัวอย่างที่ 3 พิกุลมีที่ดินแปลงหนึ่งมีเนื้อที่ 2 ไร่ 150 ตารางวา ปลูกบ้านในเนื้อที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 20 เมตร ยาว 50 เมตรจะเหลือเนื้อที่กี่ตารางวา

การวัดม.2

ตัวอย่างที่ 4 สนามแห่งหนึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีพื้นที่ 2 ไร่ 140 ตารางวามีด้านกว้างยาว 20 วา ถ้าต้องการซื้อลวดหนามมาล้อมสนามแห่งนี้ ลวดหนามที่ใช้ขึง 1 รอบจะมีความยาวอย่างน้อยที่สุดกี่เมตร

พื้นที่สี่เหลี่ยม

ตัวอย่างที่ 5 สระว่ายน้ำแห่งหนึ่งกว้าง 20 เมตร ยาว 30 เมตร ลึก 2 เมตร ต้องการปูด้วยกระเบื้องขนาด 10 x 10 ตารางเซนติเมตร จะต้องใช้กระเบื้องอย่างน้อยที่สุดกี่แผ่น

พื้นที่ผิว

คลิปตัวอย่างโจทย์ปัญหาการวัดพื้นที่

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

ตัวบ่งปริมาณ

ตัวบ่งปริมาณและค่าความจริงของตัวบ่งปริมาณ

ตัวบ่งปริมาณ ตัวบ่งปริมาณ คือ สัญลักษณ์หรือข้อความที่เมื่อเราเอาไปเติมใน “ประโยคเปิด” แล้วจะทำให้ประโยคนั้นกลายเป็นประพจน์ ประโยคเปิด คือประโยคบอกเล่าหรือปฏิเสธที่ติดค่าตัวแปรที่ยัง “ไม่รู้ว่าเป็นจริงหรือเท็จ” โดยตัวแปรนั้นเป็นสมาชิกของเอกภพสัมพัทธ์ (Universe : U) ประโยคเปิด ยังไม่ใช่ประพจน์ (แต่เกือบเป็นแล้ว) เพราะเรายังไม่รู้ว่าเป็นจริงหรือเท็จ เช่น  “x มากกว่า 3” จะเห็นว่าตัวแปร คือ x ซึ่งเราไม่รู้ว่า x

การใช้รูปประโยคคำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำ ที่ใช้ในการเรียน

การใช้รูปประโยคคำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำ ที่ใช้ในการเรียน + การใช้ Can/ Could/ Should

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม. 1 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาเรียนรู้เกี่ยวกับ การใช้รูปประโยคคำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำ ที่เจอบ่อยและการใช้ Can, Could, Should กันนะคะ ไปลุยกันเลย   มารู้จักกับประโยคคำสั่ง (Imperative sentence)     รูปแบบและโครงสร้างประโยคคำสั่ง Imperative sentence Imperative sentence ในรูปแบบประโยคบอกเล่าจะ

ถอดคำประพันธ์ กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า พร้อมศึกษาคุณค่าในเรื่อง

  ในบทเรียนก่อนหน้าเราได้เรียนรู้ประวัติความเป็นมา ลักษณะคำประพันธ์และเรื่องย่อกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้าไปแล้ว บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะต่อเนื่องกับครั้งก่อนโดยการพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้เรื่องตัวบทเด่น ๆ ถอดคำประพันธ์ กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า พร้อมทั้งศึกษาคุณค่าที่แฝงอยู่ในเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เนื้อหา หรือด้านวรรณศิลป์ ถ้าน้อง ๆ พร้อมจะเรียนวรรณคดีเรื่องนี้ต่อไปแล้ว ก็ไปลุยพร้อมกันเลยค่ะ     ถอดคำประพันธ์ กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า   สกุลเอ๋ยสกุลสูง ชักจูงจิตชูศักดิ์ศรี อำนาจนำความสง่าอ่าอินทรีย์

การเขียนเรียงความ

เทคนิคการเขียนเรียงความง่าย ๆ ที่จะช่วยถ่ายทอดความคิดให้เป็นขั้นตอน

การเขียนเรียงความ เป็นทักษะการเขียนที่มีสำคัญมาก เพราะเป็นการถ่ายทอดความคิดให้ออกมาอยู่ในรูปของตัวอักษร จะมีวิธีเขียนอย่างไรบ้างนั้น บทเรียนในวันนี้จะทำให้น้อง ๆ มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการเขียนเรียงมากขึ้น จะเป็นอย่างไรนั้น ไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ     เรียงความ เป็นทักษะการเขียนที่แสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิด ความเห็น ความเข้าใจของผู้เขียน มีรูปแบบและวิธีการเขียนที่มีแบบแผน เพื่อถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นตัวอักษรให้น่าอ่าน และยังเป็นพื้นฐานของการเขียนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นบทความหรือนวนิยายอีกด้วย โดยประเภทของการเขียนเรียงความมีดังนี้ 1. เรื่องที่เขียนเพื่อความรู้ 2. เรื่องที่เขียนเพื่อความเข้าใจ

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร  โดยการเลือกกำจัดตัวแปรใดตัวแปรหนึ่ง(x) เมื่อเลือกกำจัด x จะได้ค่า y แล้วนำค่าของตัวแปร(y) มาแทนค่าในสมการเพื่อหาค่าของตัวแปรอีกหนึ่งตัวแปร (x) ซึ่งก่อนที่จะเรียนเรื่องนี้ น้องๆสามารถศึกษาเรื่อง การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยใช้กราฟ เพิ่มเติมได้ที่  ⇒⇒ การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยใช้กราฟ ⇐⇐ ให้ a, b, c, d, e และ

เรียนรู้และเข้าใจเรื่องคำซ้อนในภาษาไทย

คำซ้อน เป็นหนึ่งในบทเรียนหลักภาษาไทยเรื่องการสร้างคำ น้อง ๆ หลายคนอาจจะเคยสับสนกับวิธีสร้างคำซ้อน ไม่รู้ว่าแบบไหนกันแน่ที่เรียกว่าคำซ้อน เพราะภาษาไทยเรานั้นก็มีคำมากมายเหลือเกิน วันนี้เราจะมาเรียนรู้เรื่องคำซ้อนให้มากขึ้น รับรองว่าไม่ยากแน่นอนค่ะ   คำซ้อน     ความหมายของคำซ้อน   คำซ้อน คือ คำที่เกิดจากการนำคำตั้งแต่ 2 คำ ขึ้นไปมาเรียงต่อกัน โดยคำที่นำมาซ้อนกันจะต้องเป็นคำที่มีความหมายเหมือนกัน ใกล้เคียงกัน ตรงข้ามกัน หรืออาจมีเสียงที่คล้ายกัน

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1