การวัดปริมาตรและน้ำหนัก

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้หน่วยที่ใช้ในการวัดปริมาตร และน้ำหนักที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย อีกทั้งยังมีมาตรฐาน ซึ่งแต่ละหน่วยล้วนแต่มีความสัมพันธ์กัน
การวัดปริมาตรและน้ำหนัก

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

บ่อยครั้งที่เรามักสับสนกับหน่วยต่าง ๆ มากมาย เช่น หน่วยของความยาว ซึ่งมีทั้งเซนติเมตร นิ้ว ฟุต หรือหน่วยของพื้นที่ ซึ่งมีทั้งตารางวา ตารางเมตร ไร่ หรือหน่วยของปริมาตร ซึ่งมีทั้งลูกบาศก์เซนติเมตร ออนซ์ ลิตร แล้วพื้นที่ 1 ไร่มีกี่ตารางเมตรล่ะ? ซึ่งหน่วยเหล่านี้ถูกแบ่งแยกเป็นกลุ่มตามระบบเมตริก อเมริกัน-อังกฤษ และไทย โดยสามารถเทียบเคียงเพื่อแปลงหน่วยในการนำไปใช้ประโยชน์ในสถานการณ์และความต้องการที่แตกต่างกันไปได้ ซึ่งจะทำให้เราทราบได้ว่าปริมาตร 1 ลิตร มีกี่ลูกบาศก์เซนติเมตรเป็นต้น

การวัดปริมาตรและน้ำหนัก

1.การวัดปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

เนื่องจากหน่วยการวัดปริมาตรเป็นลูกบาศก์หน่วย โดยหน่วยหมายถึง หน่วยความยาวของสิ่งที่เราวัดนั้นๆ เช่น

1. การวัดปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

2.หน่วยการวัดปริมาตรและหน่วยการวัดน้ำหนัก

เนื่องจากหน่วยการวัดปริมาตรมีกันมาตั้งแต่โบราณจึงมีการใช้กันอยู่บ้างตามความนิยมหน่วยการวัดปริมาตรที่ควรรู้จักมีดังนี้

2.1 หน่วยวัดปริมาตรในระบบเมตริก

1 ลูกบาศก์เซนติเมตร = 1,000 ลูกบาศก์มิลลิลิตร

1 ลูกบาศก์เมตร = 1,000,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร

1 ลูกบาศก์เซนติเมตร = 1 มิลลิลิตร

1 ลิตร =  1,000 มิลลิลิตร= 1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร

1,000 ลิตร = 1 ลูกบาศก์เมตร

2.2 หน่วยวัดปริมาตรในระบบอังกฤษ

3 ช้อนชา = 1 ช้อนโต๊ะ

16 ช้อนโต๊ะ = 1 ถ้วยตวง

1 ถ้วยตวง = 8 ออนซ์

2.3 การเทียบปริมาตรระหว่างระบบอังกฤษกับเมตริก

1 ช้อนชา = 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร

1 ถ้วยตวง = 240 ลูกบาศก์เซนติเมตร

2.4 หน่วยการตวงแบบไทย

1 เกวียน = 100 ถัง

1 ถัง = 20 ลิตร

2.5 หน่วยการตวงแบบไทยเทียบกับระบบเมตริก

ข้าวสาร 1 ถังมีน้ำหนัก 15  กิโลกรัม

ข้าวสาร 1 กระสอบมีน้ำหนัก 100 กิโลกรัม

2.6 หน่วยวัดน้ำหนักในมาตราเมตริก

1,000 มิลลิกรัม = 1 กรัม

1,000 กรัม = 1 กิโลกรัม

2.7 หน่วยวัดน้ำหนักในมาตราไทย

4 ไพ  = 1 เฟื้อง

2 เฟื้อง = 1 สลึง

4 สลึง = 1 บาท

4 บาท = 1 ตำลึง

20 ตำลึง = 1 ชั่ง

ตัวอย่าง มีน้ำผลไม้อยู่ 1 กล่อง ขนาด 2 ลิตร และมีน้ำหนักสุทธิ 67.62 ออนซ์ ถ้าแบ่งน้ำผลไม้ใส่แก้วให้แต่ละแก้วมีจำนวน 200 มิลลิลิตรจะได้น้ำผลไม้หนักแก้วละกี่ออนซ์

ตัวอย่างวัดปริมาตร

ตัวอย่าง ผงซักฟอกกล่องหนึ่งมีขนาดกล่องกว้าง 18 เซนติเมตรยาว 20 เซนติเมตรสูง 25 เซนติเมตรมีผงซักฟอกบรรจุอยู่ 3ส่วน4 ของกล่อง ราคากล่องละ 188 บาทถ้านำออกมาใช้ครั้งละ 3 ลูกบาศก์เซนติเมตรจะเป็นการนำออกมาใช้ครั้งละกี่บาท

วัดปริมาตรและน้ำหนัก

ตัวอย่างคลิปวิดีโอเรื่องการวัดปริมาตรและน้ำหนัก

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

ลิลิตตะเลงพ่าย

ถอดความหมายตัวบทเด่นใน ลิลิตตะเลงพ่าย

ลิลิตตะเลงพ่าย เป็นวรรณคดีเรื่องดังที่มีตัวบทเด่น ๆ มากมาย สำหรับการถอดคำประพันธ์ในวันนี้เราได้คัดเลือกบทเด่น ๆ มาให้น้อง ๆ ได้เรียนกันถึง 13 บทเลยทีเดียว แต่เพราะเนื้อหาที่สนุก ภาษาที่สละสลวย รับรองว่าน้อง ๆ จะไม่มีทางเบื่อวรรณคดีเรื่องนี้แน่นอน ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนความหมายของแต่ละบทพร้อมกันเลยนะคะ ตัวบทเด่น ๆ ใน ลิลิตตะเลงพ่าย   บทที่ 1  

การพูดรายงานหน้าชั้น พูดอย่างไรให้ได้ใจผู้ฟัง

การพูดรายงานหน้าชั้น เป็นการแสดงผลงานศึกษาค้นคว้าโดยนำมาบอกเล่า ชี้แจง นำเสนอให้ผู้อื่นได้ทราบด้วย การพูดรายงานจึงมีความสำคัญในฐานะที่เป็นการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด บทเรียนในวันนี้เราจะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้กันว่าหลักในการพูดรายงานหน้าชั้นนั้นมีอะไรบ้าง พูดอย่างไรจึงจะดึงดูดผู้ฟัง รวมไปถึงมารยาทขณะที่ออกไปพูดด้วย จะเป็นอย่างไรบ้างนั้นเราไปดูกันเลยค่ะ   หลักการพูดรายงานหน้าชั้น     1. กล่าวทักทายผู้ฟัง แนะนำผู้ร่วมงาน หัวข้อ จุดประสงค์ การทักทายถือเป็นการสร้างความประทับใจแรกให้แก่ผู้ฟัง ไม่ว่าหัวข้อที่เราจะนำมาพูดหน้าชั้นคืออะไร แต่หากเราพูดเนื้อหาขึ้นมาเลยแบบไม่มีปี่ไม่ขลุ่ย ก็อาจจะทำให้ผู้ฟังไม่อยากฟัง หรือคิดว่าการพูดหน้าชั้นของเราเป็นเรื่องน่าเบื่อ

M2 V. to be + ร่วมกับ Who WhatWhere + -Like + infinitive

การใช้ V. to be ร่วมกับ Who/ What/Where และ Like +V. infinitive

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.2 ทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง การใช้ V. to be + ร่วมกับ Who/ What/Where + -Like + infinitive ซึ่งเป็นโครงสร้างที่สับสนบ่อย แต่ที่จริงแล้วง่ายมากๆ ไปลุยกันเลยจ้า Let’s go ความหมาย    Verb to be

Profile Linking Verbs

มาทำความรู้จักกับ Linking Verbs ให้มากขึ้น

สวัสดีค่ะนักเรียนม.1 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปรู้จักกับ Linking Verbs ให้มากขึ้น แต่ก่อนอื่นไปดูความหมายของ Linking Verbs กันก่อนนะคะ ไปลุยกันเลย มาทำความรู้จักกับ Linking Verbs     Linking verbs คืออะไรกันนะ Linking แปลว่า การเชื่อม มาจากรากศัพท์ link ที่เป็นกริยาเติมด้วย

การหมุน

การแปลงทางเรขาคณิตโดยการหมุน ( Rotation ) เป็นการแปลงที่จุดทุกจุดของรูปต้นแบบเคลื่อนที่ไปเป็นมุมเดียวกันรอบจุดตรึงอยู่กับที่ ที่กำหนดหรือจุดหมุน การหมุนจะหมุนทวนเข็มนาฬิกาหรือตามเข็มนาฬิกา

CS profile

ประโยคความรวม (Compound Sentence)-2

  สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.3 ที่น่ารักทุกคน เจอกันอีกแล้วจร้ากับไวยากรณ์การเขียนภาษาอังกฤษและวันนี้ครูจะพาไปดูเทคนิคการการใช้ประโยคความรวมในภาษาอังกฤษกันค่ะ ซึ่งเป็นไม้เบื่อไม้เมามากกับคนที่ไม่ชอบเขียน  ครูเอาใจช่วยทุกคนค่า ไปลุยกันเลย   ประโยคความรวม (Compound Sentence)   ประโยคความรวม ภาษาอังกฤษคือ Compound Sentence อ่านว่า เคิมพาวดฺ เซนเท่นสฺ เป็นประโยคที่ประกอบด้วยประโยคความเดียวอย่างน้อย 2 ประโยคโดยมีคำเชื่อมระหว่างประโยค เช่น for, and,

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1