ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ข้อสอบO-Net

ข้อสอบO-Net ในบทความนี้จะคัดเฉพาะเรื่องจำนวนจริงมาให้น้องๆทุกคนได้ดูว่าที่ผ่านมาแต่ละปีข้อสอบเรื่องจำนวนจริงออกแนวไหนบ้าง โดยบทความนี้พี่ได้นำข้อสอบย้อนหลังของปี 49 ถึงปี 52 มาให้น้องๆได้ดูพร้อมเฉลยอย่างละเอียด เมื่อน้องๆได้ศึกษาโจทย์ทั้งหมดและลองฝึกทำด้วยตัวเองแล้ว น้องๆจะสามารถทำข้อสอบทั้งของในโรงเรียนและข้อสอบO-Net ได้แน่นอนค่ะ

ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 49

 

1. (\sqrt{2}+\sqrt{8}+\sqrt{18}+\sqrt{32})^{2}  มีค่าเท่ากับข้อในต่อไปนี้

  1.     60
  2.     60\sqrt{2}
  3.     100\sqrt{2}
  4.     200

คำตอบ  4

ข้อสอบO-Net

2. \frac{\sqrt[5]{-32}}{\sqrt[3]{27}}+\frac{2^{6}}{(64)^{\frac{3}{2}}}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     -\frac{13}{24}
  2.     -\frac{5}{6}
  3.         \frac{2}{3}
  4.        \frac{19}{24}

คำตอบ  1

ข้อสอบO-Net

3. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ \sqrt{2}^{(x^{2})} = \frac{2^{(4x)}}{4^{4}}  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     2
  2.     3
  3.     4
  4.     5

คำตอบ 3

ข้อสอบO-Net

4.  กำหนดให้ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1.  ถ้า      a < b     แล้ว จะได้      a^{2}< b^{2}
  2.  ถ้า   a < b < 0   แล้ว จะได้      ab < a^{2}
  3.  ถ้า    a^{2}< b^{2}     แล้ว จะได้      a <  b
  4. ถ้า    \left | a \right |< \left | b \right |     แล้ว จะได้      a <  b

คำตอบ  2

ถ้าเจอโจทย์แบบนี้ให้ลองแทนตัวเลขที่ทำให้แต่ละผิด 

พิจารณาข้อ 1 สมมติให้ a = -3 และ b = 1 จะเห็นว่า -3 < 1 นั่นคือ a < b

เมื่อเรายกกำลังสองทั้ง a และ b จะได้ว่า a² = 9 และ b² = 1  จะเห็นว่า 1 < 9 นั่นคือ b² < a²

ดังนั้น ข้อ 1 ผิด

 

พิจารณาข้อ  3 กรณีที่ a = -1  b = -2  ทำให้ข้อความข้างต้นเป็นเท็จ เพราะเมื่อยกกำลังสอง a² < b² จริง แต่ a < b ไม่จริง

ดังนั้น ข้อ 3 ผิด

 

พิจารณา ข้อ 4 สมมติให้ a = 1 b = -2 จะเห็นว่า  \left | a \right |< \left | b \right |  จริง แต่ a < b นั้นไม่จริง

ดังนั้น ข้อ 4 ผิด

 

5.)  อสมการในข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง

  1.     2^{1000}< 3^{600}< 10^{300}
  2.     3^{600}< 2^{1000}< 10^{300}
  3.     3^{600}< 10^{300}< 2^{1000}
  4.     10^{300}< 2^{1000}< 3^{600}

คำตอบ  3

ทำให้เลขยกกำลังเท่ากัน

 

6.)  ถ้า 4^{a} = \sqrt{2}  และ 16^{-b} = \frac{1}{4}  แล้ว a + b มีค่าเท่ากับเท่าใด

ตอบ 0.75

ข้อสอบO-Net

ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 49

 

1.)  \left | \frac{1}{2}-\frac{1}{\sqrt{2}} \right |-\left | 2-\sqrt{2} \right |  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     \frac{3}{2}-\frac{\sqrt{2}}{2}
  2.     \frac{\sqrt{2}}{2}-\frac{3}{2}
  3.      \frac{5}{2}-\frac{3\sqrt{2}}{2}
  4.      \frac{3\sqrt{2}}{2}-\frac{5}{2}

คำตอบ 4

ข้อสอบO-Net

2.)  \frac{8^{\frac{2}{3}}}{\sqrt[4]{144}}\cdot \frac{(18)^{\frac{1}{2}}}{\sqrt{6}}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      \sqrt{\frac{2}{3}}
  2.     \sqrt{\frac{3}{2}}
  3.          2
  4.          3

คำตอบ  3

ข้อสอบO-Net

3.) (1-\sqrt{2})^{2}(2+\sqrt{8})^{2}(1+\sqrt{2})^{3}(2-\sqrt{8})^{3}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.  -32
  2.   -24
  3.   -32-16\sqrt{2}
  4.   -24-16\sqrt{2}

คำตอบ  1

ข้อสอบO-Net

4.)  ถ้า x ≤ 5 แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

 

  1.      x^{2} \leq 25
  2.      \left | x \right | \leq 5
  3.       x\left | x \right |\leq 25
  4.       (x-\left | x \right |)^{2}\leq 25

คำตอบ  1

5.)  ถ้า (3+\frac{3}{8})^{3x} = \frac{16}{81}  แล้ว x มีค่าาเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.       -\frac{4}{9}
  2.       -\frac{2}{9 }
  3.       -\frac{1}{9}
  4.           \frac{1}{9}

คำตอบ 1

ข้อสอบO-Net

6.)  ถ้า x = -\frac{1}{2} เป็นรากของสมการ ax^{2}+3x-1 = 0   แล้ว รากอีกรากหนึ่งของสมการนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      -5
  2.     -\frac{1}{5}
  3.         \frac{1}{5}
  4.         5

คำตอบ 3

7.)  เซตคำตอบของอสมการ     4^{(2x^{2}-4x-5)}\leq \frac{1}{32}    คือเซตในข้อใดต่อไปนี้

  1.   [-\frac{5}{2},\frac{5}{2}]
  2.   [-\frac{-5}{2},1]
  3.   [-\frac{1}{2},1]
  4.   [-\frac{1}{2},\frac{5}{2}]

คำตอบ 4

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 50

 

1.)  (\frac{\sqrt{5}}{\sqrt{6}}-\frac{\sqrt{2}}{\sqrt{15}})^{2}   มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      \frac{3}{10}
  2.      \frac{7}{10}
  3.      \sqrt{5}-2
  4.      \sqrt{6}-2

คำตอบ 1

2.)  ถ้า (\sqrt{\frac{8}{125}})^{4}=(\frac{16}{625})^{\frac{1}{x}}  แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.     \frac{3}{4}
  2.     \frac{2}{3}
  3.     \frac{3}2{}
  4.     \frac{4}{3}

คำตอบ 2

ข้อสอบO-Net

3.)  เซตคำตอบของอสมการ  -1\leq \sqrt{2}+\frac{x}{1-\sqrt{2}}\leq 1   คือเซตในข้อใดต่อไปนี้

 

  1.       [\sqrt{2}-1,1]
  2.       [\sqrt{2}-1,2]
  3.       [3-2\sqrt{2},1]
  4.       [3-2\sqrt{2} , 2]

คำตอบ 3

4.)  สมการในข้อใดต่อไปนี้ มีคำตอบที่เป็นจำนวนจริงมากกว่า 2 คำตอบ

 

  1.     (x-2)^2+1=0
  2.     (x^2+2)(x^2-1)=0
  3.     (x-1)^2(x^2+2)=0
  4.     (x^2-1)(x+2)^2=0

คำตอบ 4

5.)  ผลบวกของคำตอบทุกคำตอบของสมการ  x^{3}-2x = \left | x \right |   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.     0
  2.    \sqrt{3}
  3.    \sqrt{3}-1
  4.    \sqrt{3}+1

คำตอบ 1

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 51

 

1.)  ค่าของ  \sqrt{(-2)^2}+(\frac{8^{\frac{1}{2}}+2\sqrt{2}}{\sqrt{32}})   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     -1
  2.      1
  3.      3
  4.      5

คำตอบ 3

ข้อสอบO-Net

2.)   กำหนดให้ค่าประมาณที่ถูกต้องถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3 ของ \sqrt{3}  และ \sqrt{5} คือ  1.732  และ 2.236 ตามลำดับ

พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก.    2.235+1.731\leq \sqrt{5}+\sqrt{3}\leq 2.237+1.733

ข.    2.235-1.731\leq \sqrt{5}-\sqrt{3}\leq 2.237-1.733

ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1.   ถูกทั้ง 2 ข้อ
  2.   ก ถูก  ข ผิด
  3.   ก ผิด  ข ถูก
  4.   ผิดทั้ง 2 ข้อ

คำตอบ 1

4.)  พืจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. สมบัติการมีอินเวอร์สการบวกของจำนวนจริงกล่าวว่า

สำหรับจำนวนจริง a จะมีจำนวนจริง b ที่ b + a = 0 = a + b

ข. สมบัติการมีอินเวอร์สการคูณของจำนวนจริง กล่าวว่า

สำหรับจำนวนจริง a จะมีจำนวนจริง b ที่ ba = 1 = ab

ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1. ถูกทั้ง 2 ข้อ
  2. ก  ถูก ข ผิด
  3. ก  ผิด ข ถูก
  4. ผิดทั้ง 2 ข้อ

คำตอบ 1 

ก.จริง เพราะ ยกตัวอย่าง a = 1 ตัวที่บวกกับ 1 แล้วได้ 0 คือ -1 นั่นคือ -1 เป็นอินเวอร์การบวกของ 1 

ข. จริง เพราะ สมมติให้ a = 2 ตัวที่คูณกับ 2 แล้วได้ 1 คือ \frac{1}{2}  นั่นคือ \frac{1}{2} เป็นอินเวอร์สการคูณของ 2 

จึงสรุปได้ว่า ก และ ข ถูก

**คำว่า “มี” แปลว่าอาจจะมีแค่ตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได้ ถ้าเรายกตัวอย่างมาได้สัก 1 ตัวอย่างที่เป็นจริงก็ถือว่า ข้อความนั้นเป็นจริง**

แต่ต้องระวัง ถ้าเจอคำว่า”ทุกๆ” หรือตำว่า “แต่ละตัว” การที่เราจะบอกว่าทุกตัวมันจริงคงไม่ไหวเพราะมันอาจจะมีจำนวนมาก ดังนั้นน้องๆควรยกตัวอย่างมาค้านว่าข้อความนั้นเป็นเท็จจะง่ายกว่า 

 

5.)   พิจารณาสมการ \left | x-7 \right |=6  ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ

  1. คำตอบหนึ่งของสมการมีค่าระหว่าง 10 และ 15
  2. ผลบวกของคำตอบทั้งหมดของสมการมีค่าเท่ากับ 14
  3. สมการนี้มีคำตอบมากกว่า 2 คำตอบ
  4. ใบบรรดาคำตอบทั้งหมดของสมการ คำตอบที่มีค่าน้อยที่สุดมีค่าน้อยกว่า 3

คำตอบ 3

 

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 52

 

1.)  พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. จำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบบางจำนวนเป็นจำนวนอตรรกยะ

ข. จำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบบางจำนวนเป็นจำนวนตรรกยะ

ข้อใดถูกต้อง

  1. ก  และ ข
  2. ก เท่านั้น
  3. ข เท่านั้น
  4. ก และ ข ผิด

คำตอบ 2 

ก. จากที่เรารู้อยู่แล้วว่าทศนิยมไม่รู้จบเป็นจำนวนอตรรกยะ ข้อความนี้จึงถูกต้อง

ข. ผิด เพราะจำนวนตรรกยะคือจำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มได้ แต่ทศนิยมไม่รู้จบไม่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มได้ ดังนั้นจึงไม่มีจำนวนตรรกยะใดที่เป็นจำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบ

 

2.)  ผลเฉลยของสมการ 2\left | 5-x \right |=1  อยู่ในช่วงใด

  1.   (-10, -5)
  2.   (-6, -4)
  3.   (-4, 5)
  4.   (-3, 6)

คำตอบ 4

3.)  ถ้า \frac{3}{4} เป็นผลเฉลยหนึ่งของสมการ 4x^2+bx-6 = 0  เมื่อ b เป็นจำนวนจริงแล้ว อีกผลเฉลยหนึ่งของสมการนี้มีค่าตรงกับข้อใด

  1.   -2
  2.   -\frac{1}{2}
  3.     \frac{1}{2}
  4.    2

คำตอบ  1

4.)  ข้อใดมีค่าต่างจากข้ออื่น

  1.    (-1)^0
  2.    (-1)^{0.2}
  3.    (-1)^{0.4}
  4.    (-1)^{0.8}

คำตอบ 2

5.)  ( \left | 4\sqrt{3}-5\sqrt{2} \right | -\left | 3\sqrt{5}-5\sqrt{2} \right |+\left | 4\sqrt{3}-3\sqrt{5} \right |)^2   เท่ากับข้อใด

  1.    0
  2.    180
  3.    192
  4.    200

คำตอบ 1

วิดีโอ ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง

 

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

ป.6 Possessive pronoun โดยใช้ Whose_ Which ร่วมด้วย

การใช้ Possessive pronoun โดยใช้ Whose/ Which ร่วมด้วย

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.6 ที่น่ารักทุกคนค่ะ วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง การใช้ Possessive pronoun โดยใช้ Whose/ Which ร่วมด้วย Let’s go! ไปลุยกันเลยจ้า   Possessive pronoun คืออะไร     What’s mine is yours, my dear.

จำนวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์

จำนวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์

       บทความนี้ ได้รวบรวมเนื้อหาเรื่อง จำนวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการบวกลบจำนวนเต็ม โดยก่อนหน้านี้น้องๆได้เรียนเรื่องการเปรียบเทียบจำนวนเต็มมาแล้ว ต่อไปจะพูดถึงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มใดๆ จะหาได้จากระยะที่จำนวนเต็มนั้นอยู่ห่างจาก 0 บนเส้นจำนวน แต่ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกับจำนวนตรงข้ามกันก่อนนะคะ จำนวนตรงข้าม       “หากค่าของจำนวนที่อยู่ห่างจาก 0 เท่ากัน แต่อยู่ต่างทิศทางกันมีค่าเท่ากันหรือไม่” (ค่าไม่เท่ากัน)           

การบวกและการลบเอกนาม

การบวกและการลบเอกนาม บทความนี้จะทำให้น้องๆ รู้จักเอกนามและเข้าใจวิธีการบวกลบเอกนามได้อย่างง่ายดาย ซึ่งได้รวบรวมตัวอย่างการบวกและการลบเอกนามมานำเสนออกในรูปแบที่เข้าใจง่าย ทำให้น้องๆสนุกกับการเรียนคณิตศาสตร์ ซึ่งเนื้อหาในบทความนี้เป็นเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เอกนาม เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยเลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มบวก ค่าคงตัว คือ ตัวเลข ตัวแปร คือ สัญลักษณ์ของข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงได้ มักเขียนอยู่ในรูปสัญลักษณ์ x, y เอกนาม ประกอบด้วย 2

อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน

อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้หลักการเขียนอัตราส่วนแทนการเปรียบเทียบปริมาณของสิ่งต่างๆที่มากกว่า 2 สิ่งขึ้นไปได้ โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วนของจํานวนหลายๆจํานวนในการแก้ปัญหาหรือสถานการณ์ต่าง ๆได้

ระบบจำนวนจริง

ระบบจำนวนจริง

ระบบจำนวนจริง “ระบบจำนวนจริง” เป็นรากฐานสำคัญของวิชาคณิตศาสตร์ ประกอบไปด้วยจำนวนต่างๆ ได้แก่ จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ จำนวนเต็ม จำนวนนับ โครงสร้าง ระบบจำนวนจริง มนุษย์เรามีความคิดเรื่องจำนวนและระบบการนับมาตั้งแต่โบราณ และจำนวนที่มนุษย์เรารู้จักเป็นอย่างแรกก็คือ จำนวนนับ การศึกษาระบบของจำนวนจึงใช้พื้นฐานของจำนวนนับในการสร้างจำนวนอื่นขึ้นมา จนกลายมาเป็นจำนวนจริง และจำนวนเชิงซ้อน (เนื้อหาม.5) ดังนั้น ถ้าน้องๆเข้าใจจำนวนนับแล้วน้องๆก็จะสามารถศึกษาระบบจำนวนอื่นๆได้ง่ายขึ้น   โครงสร้าง     จำนวนจริง จำนวนจริงคือจำนวนที่ประกอบไปด้วย

ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์

ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์

ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ จะเกี่ยวข้องกับ θ พิกัดของ จุด (x, y) ซึ่งในบทความนี้จะอธิบายเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่าง x, y กับ θ จากบทความที่ผ่านมาเราได้รู้จักวงกลมหนึ่งหน่วยและการวัดความยาวส่วนโค้ง ในบทความนี้น้องๆจะได้รู้จักกับฟังก์ชันไซน์ (sine function) และฟังก์ชันโคไซน์ (cosine function) และวิธีการหาค่าของฟังก์ชันทั้งสอง Sine function =

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1