หลักการเบื้องต้นของอัตราส่วน

“อัตราส่วน คือ ปริมาณ อย่างหนึ่งที่แสดงถึง จำนวน หรือ ขนาด ตามสัดส่วนเมื่อเปรียบเทียบกับอีก ปริมาณ หนึ่งที่เกี่ยวข้องกัน ที่อาจมีได้ตั้งแต่สองปริมาณขึ้นไป”
หลักการเบื้องต้นของอัตราส่วน

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ความหมายของอัตราส่วน

        อัตราส่วนจะเป็นปริมาณที่ไม่มีหน่วย หากอัตราส่วนนั้นเกี่ยวข้องกับปริมาณที่อยู่ใน มิติ เดียวกัน และเมื่อปริมาณของสองอย่างที่เปรียบเทียบกันเป็นคนละชนิด หน่วยของอัตราส่วนจะเป็น “หน่วยแรก” ต่อ “หน่วยที่สอง”

ตัวอย่างเช่น ความเร็ว สามารถแสดงได้ในหน่วย กิโลเมตร ต่อ ชั่วโมง ถ้าในกรณีที่หน่วยที่สอง เป็นหน่วยวัดเวลา เราจะเรียกอัตราส่วนนี้ว่า “อัตรา”

อัตราส่วน a ต่อ b เขียนแทนด้วย a : b

ระวัง!!!! ความหมายของอัตราส่วน a ต่อ b จะมีความหมายต่างจาก b ต่อ a

ตัวอย่างของอัตราส่วน

ตัวอย่างที่ 1 นาย ก มีหมู 3 ตัว นาย ข มีหมู 1 ตัว

 

อัตราส่วน

 

ตัวอย่างที่ 2 แดงมีพลังซุปเปอร์ฮีโร่ 3 หน่วย ขาวมีพลังซุปเปอร์ฮีโร่ 5 หน่วย

 

หลักการของอัตราส่วน

 

ตัวอย่างที่ 3 ถ้าในสวนมีอัตราส่วนดอกไม้ต่อใบไม้เป็น 1 : 2 ซึ่งสวนนี้มีดอกไม้ 4 ดอก ดังนั้นสวนนี้จะมีใบไม้กี่ใบ

หลักการอัตราส่วน

แล้วถ้ามีใบไม้ในสวน 50 ใบ สวนนี้จะมีดอกไม้กี่ดอกกันนะ

อัตราส่วนในรูปเศษส่วน

 


สรุปหลักการของอัตราส่วนก็คือ จำนวนที่ 1 ต่อ จำนวนที่ 2 จะไม่มีค่าเท่ากับจำนวนที่ 2 ต่อจำนวนที่ 1 หรือเข้าใจง่ายๆก็คือการเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปของอัตราส่วนนั่นเองซึ่งสามารถมีอัตราส่วนได้มากกว่าสองอัตราส่วนขึ้นไป บทความต่อไปจะเป็นเรื่องของอัตราส่วนที่เท่ากันพร้อมยกตัวอย่างการแสดงวิธีคิดที่เข้าใจง่ายและน้อง ๆ สามารถนำไปใช้ได้ในห้องเรียน

คลิปตัวอย่างเรื่องหลักการเบื้องต้นของอัตราส่วน

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

Past Time

Past Time หรือ เวลาในอดีต

สวัสดีค่ะนักเรียน ม.1 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดูเทคนิคและวิธีการใช้ Past Time หรือ เวลาในอดีต ซึ่งเมื่อเล่าถึงเวลาในอดีตส่วนใหญ่แล้วเรามักเจอคำว่า yesterday (เมื่อวานนี้), 1998 (ปี ค.ศ. ที่ผ่านมานานแล้ว), last month (เดือนที่แล้ว)  และกลุ่มคำอื่นๆ ที่กำกับเวลาในอดีต ซึ่งเราจะเจอ Past Time ในกลุ่ม Past

ความสัมพันธ์

ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เกิดจากสิ่งสองสิ่งมาเกี่ยวข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์บางอย่าง เช่น ความสัมพันธ์ของ a กับ b ซึ่ง a มากกว่า b เป็นต้น ก่อนที่เราจะเริ่มเนื้อหาของความสำคัญพี่อยากให้น้องๆรู้จักกับคู่อันดับ และผลคูณคาร์ทีเซียนก่อนนะคะ คู่อันดับ ในการเขียนคู่อันดับเป็นสิ่งที่ค่อนข้างสำคัญเลยทีเดียว เพราะถ้าน้องๆเขียนคู่อันดับผิดตำแหน่งนั่นหมายความว่า ความหมายของมันจะเปลี่ยนไปทันที เช่น คู่อันดับ (x, y) โดย x

การสร้างตารางค่าความจริง

บทความนี้เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับการสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ เป็นเนื้อหาที่ไม่ยากมากหลังจากน้องๆได้อ่านบทความนี้แล้ว น้องๆจะสามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ สามารถบอกได้ว่าประพจน์แต่ละประพจน์เป็นจริงได้กี่กรณีและเป็นเท็จได้กี่กรณี และจะทำให้น้องเรียนเนื้อหาเรื่องต่อไปได้ง่ายยิ่งขึ้น

ป6การใช้ love, like, enjoy, hate ในการเเต่งประโยค

การใช้ love, like, enjoy, hate ในการเเต่งประโยค

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.6 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง การใช้  love, like, enjoy, hate ในการเเต่งประโยค หากพร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลดเด้อ Let’s go!   โครงสร้าง: In my free time/ In my spare time,…     In my

บทเสภาสามัคคีเสวก

บทเสภาสามัคคีเสวก ที่มาของกลอนเสภาอันทรงคุณค่า

บทเสภาสามัคคีเสวก   เมื่อเห็น บทเสภาสามัคคีเสวก ครั้งแรก เชื่อว่าต้องมีน้อง ๆ หลายคนต้องเผลออ่านคำว่า เสวก เป็น (สะ-เหวก) แน่ ๆ เลยใช่ไหมคะ แต่ที่จริงแล้วคำว่าเสวกนั้นต้องอ่านให้ถูกต้องว่า (เส-วก) ที่มีความหมายถึงผู้ใกล้ชิด เป็นยศของข้าราชการในราชสำนักนั่นเองค่ะ บทเรียนภาษาไทยในวันนี้ไม่เพียงแต่จะสอนอ่านให้ถูกต้อง แต่จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของเรื่องย่อวรรณคดีไทยอย่างบทเสภาสามัคคีเสวกกันอีกด้วย โดยจะเป็นเรื่องราวแบบไหน มีลักษณะคำประพันธ์และเรื่องย่ออย่างไรบ้าง เราไปศึกษาเรื่องนี้พร้อม

รากที่ n ของจำนวนจริง

รากที่ n ของจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์

รากที่ n ของจำนวนจริง รากที่ n ของจำนวนจริง คือจำนวนจริงตัวหนึ่งยกกำลัง n แล้วเท่ากับ x   เมื่อ n > 1 เราสามารถตรวจสอบรากที่ n ได้ง่ายๆ โดยนิยามดังนี้ นิยาม ให้  x, y เป็นจำนวนจริง และ n

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1