หลักการคูณทศนิยม พร้อมตัวอย่างที่เข้าใจง่าย

บทความนี้จะพาน้อง ๆมาทำความเข้าใจกับหลักการคูณทศนิยมในแต่ละรูปแบบ พร้อมทั้งอธิบายหลักการและยกตัวอย่างวิธีคิดในแต่ละรูปแบบของการคูณทศนิยม ให้น้อง ๆสามารถนำไปปรับใช้กับการหาคำตอบจากแบบฝึกหัดในห้องเรียนได้จริง

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ทศนิยมมีค่าประจำหลักเป็นเศษส่วน ซึ่งเมื่อนำทศนิยมคูณด้วยทศนิยมผลลัพธ์ที่ได้ออกจะมีจะตำแหน่งของทศนิยมที่เปลี่ยนไป ตามหลักการคูณทศนิยมที่กล่าวไว้ดังนี้ “จำนวนตำแหน่งของทศนิยมของผลคูณต้องเท่ากับตำแหน่งของทศนิยมของตั้วตั้งและตัวคูณรวมกัน”

รูปแบบการคูณทศนิยม มีทั้งหมด 2 รูปแบบ

1.การคูณทศนิยมกับจำนวนเต็ม

หลักการคูณทศนิยมกับจำนวนเต็มนั้นสามารถทำได้ 2 วิธี

1.1 วิธีตั้งคูณ

สิ่งสำคัญของการตั้งคูณคือ ต้องว่างจุดทศนิยมที่ตำแหน่งเดิมและทำการคูณตัวเลขตามหลักการคูณของจำนวนเต็มปกติ

คูณทศนิยมกับจำนวนเต็ม

1.2 วิธีแปลงทศนิยมให้เป็นเศษส่วน

วิธีนี้ใช้หลักการคูณเศษส่วนในการคำนวณ โดยเมื่อทำทศนิยมให้เป็นเศษส่วนแล้ว ต้องทำให้จำนวนเต็มเป็นเศษส่วนด้วย ซึ่งตัวส่วนของจำนวนเต็มจะมีค่าเป็น 1 เสมอ จากนั้นก็ทำการคูณโดยนำตัวเศษคูณด้วยตัวเศษ และตัวส่วนคูณด้วยตัวส่วน เมื่อได้ผลลัพธ์แล้วต้องแปลงกลับเป็นเป็นทศนิยมอีกครั้ง

ตัวอย่างคูณทศนิยม

 

2.การคูณทศนิยมกับทศนิยม

หลักการคูณทศนิยมกับทศนิยมนั้นสามารถทำได้ 2 วิธี

2.1 วิธีตั้งคูณ

  • ตัวตั้งเป็นทศนิยม 1 ตำแหน่งและตัวคูณเป็นทศนิยม 1 ตำแหน่ง รวมเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง ดังนั้นผลคูณที่ได้จะต้องตอบเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง
  • ตัวตั้งเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งและตัวคูณเป็นทศนิยม 1 ตำแหน่ง รวมเป็นทศนิยม 3 ตำแหน่ง ดังนั้นผลคูณที่ได้จะต้องตอบเป็นทศนิยม 3 ตำแหน่ง แต่จะมีบางกรณีที่ผลคูณมีตัวเลข 0 เป็นเลขสุดท้าย จะทำให้ตำแหน่งของทศนิยมลดลงได้
  • ตัวตั้งเป็นทศนิยม 3 ตำแหน่งและตัวคูณเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง รวมเป็นทศนิยม 5 ตำแหน่ง ดังนั้นผลคูณที่ได้จะต้องตอบเป็นทศนิยม 5 ตำแหน่ง แต่จะมีบางกรณีที่ผลลัพธ์ที่ได้อาจจะไม่ถึง 5 ตัวเลข ต้องทำการเติมเลข 0 ข้างหน้าผลลัพธ์ เพื่อทำให้ครบ 5 ตำแหน่ง

ทศนิยม

2.2 วิธีแปลงทศนิยมให้เป็นเศษส่วน

วิธีนี้ใช้หลักการคูณเศษส่วนในการคำนวณ โดยเมื่อทำทศนิยมของตัวตั้ง และตัวคูณให้เป็นเศษส่วนแล้ว จากนั้นก็ทำการคูณโดยนำตัวเศษคูณด้วยตัวเศษ และตัวส่วนคูณด้วยตัวส่วน เมื่อได้ผลลัพธ์แล้วต้องแปลงกลับเป็นเป็นทศนิยมอีกครั้ง โดยตำแหน่งของทศนิยมสามารถดูจากจำนวน 0 ที่เป็นผลลัพธ์ของการคูณตัวส่วน

คูณเศษส่วน

 

คลิปตัวอย่างการคูณทศนิยม

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

NokAcademy_ ม6Passive Modals

มารู้จักกับ Passive Modals

สวัสดีค่านักเรียนชั้นม.6 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปดู ” Passive Modals” ที่ใช้บ่อยพร้อม เทคนิคการจำและนำไปใช้ และทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน กันค่า Let’s go! ไปลุยกันโลดเด้อ   Passive Modals คืออะไรเอ่ย   Passive Modals คือ กลุ่มของ Modal verbs ที่ใช้ในโครงสร้าง

CS profile

ประโยคความรวม (Compound Sentence)-2

  สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.3 ที่น่ารักทุกคน เจอกันอีกแล้วจร้ากับไวยากรณ์การเขียนภาษาอังกฤษและวันนี้ครูจะพาไปดูเทคนิคการการใช้ประโยคความรวมในภาษาอังกฤษกันค่ะ ซึ่งเป็นไม้เบื่อไม้เมามากกับคนที่ไม่ชอบเขียน  ครูเอาใจช่วยทุกคนค่า ไปลุยกันเลย   ประโยคความรวม (Compound Sentence)   ประโยคความรวม ภาษาอังกฤษคือ Compound Sentence อ่านว่า เคิมพาวดฺ เซนเท่นสฺ เป็นประโยคที่ประกอบด้วยประโยคความเดียวอย่างน้อย 2 ประโยคโดยมีคำเชื่อมระหว่างประโยค เช่น for, and,

การเปรียบเทียบจำนวนเต็ม

การเปรียบเทียบจำนวนเต็ม

ทบทวนจำนวนเต็ม บทความนี้จะทำให้น้องๆ เข้าใจ การเปรียบเทียบจำนวนเต็ม ซึ่งได้รวบรวมตัวอย่างไว้อย่างหลากหลาย น้องๆรู้จัก จำนวนเต็ม กันแล้ว แต่หลายคนยังไม่สามาถเปรียบเทียบความมากน้อยของจำนวนเต็มเหล่านั้นได้ ซึ่งถ้าน้องๆ เคยเรียนเรื่องการเปรียบเทียบเศษส่วนและจำนวนคละมาแล้ว เรื่องนี้จะกลายเป็นเรื่องง่ายดาย ซึ่งได้นำเสนออกมาในรูปแบที่เข้าใจง่าย ทำให้น้องๆสนุกกับการเรียนคณิตศาสตร์ ทบทวนเรื่องจำนวนเต็ม  เช่น                                                                                                     25 ,  9  , -5 , 5.5 ,

Phrasal verb with2 and 3

Two – and Three-Word Phrasal Verbs

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.4 ที่รักทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้กันเรื่อง “Two – and Three-Word Phrasal verbs“ กันนะคะ ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลด ทบทวน Phrasal verbs    Phrasal verb คือ กริยาวลี  มีที่มาคือ เป็นการใช้กริยาร่วมกันกับคำบุพบท แล้วทำให้ภาษาพูดดูเป็นธรรมชาติมากขึ้น  เรามักไม่ค่อยเจอคำลักษณะนี้ในภาษาอังกฤษที่เป็นทางการ  ซึ่งในบทเรียนนี้เราจะไปดูตัวอย่างการใช้  กริยาวลีที่มี 2

กราฟของความสัมพันธ์

กราฟของความสัมพันธ์ กราฟของความสัมพันธ์ r คือเซตของจุดในระนาบx, y โดยที่แต่ละจุดคือสมาชิกของความสัมพันธ์ r นั่นเอง อธิบายให้เข้าใจง่ายคือ เมื่อเราได้เซตของความสัมพันธ์ r ที่มีสมาชิกในเซตคือคู่อันดับแล้ว เราก็นำคู่อันดับแต่ละคู่มาเขียนกราฟนั่นเอง เช่น r = {(1, 1), (1, 2), (2, 2), (3, 4)} นำมาเขียนกราฟของความสัมพันธ์

E6 This, That, These, Those

This, That, These, Those

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.6 ที่น่ารักทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนเรื่อง This, That, These, Those กันค่ะ พร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจ้า   เข้าสู่บทเรียน   ก่อนที่นักเรียนจะไปเรียนเรื่อง การใช้  This, That, These, Those ครูอยากจะให้ลองดูตัวอย่างของการใช้ This, That, These, Those (Determiners) และ This,

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1