บทควมนี้จะพูดถึงค่าของเศษส่วนและทศนิยมที่มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือการเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนหาร 10 หรือ 100 ลงตัว ในรูปทศนิยมนั่นเอง
หลักการเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนหาร 10 หรือ 100 ลงตัวในรูปทศนิยม
กรณีที่ตัวส่วนไม่มีค่าเป็น 10, 100 หรือ 1000 แต่เป็นจำนวนเต็มที่สามารถหาร 10, 100 หรือ 1000 ได้นั้น เราสามารถแปลงจำนวนเต็มพวกนั้นให้เป็น 10, 100 หรือ 1000 ได้ด้วยการนำทั้งเศษและส่วนคูณด้วยจำนวนหนึ่งแล้วได้ตัวส่วนออกมาเป็น 10, 100 หรือ 1000 เพื่อที่จะทำให้สามารถเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปของทศนิยมได้
ตัวอย่างที่ 1 
ตัวอย่างที่ 2
ตัวอย่างที่ 3
หลักการเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนไม่เป็นตัวประกอบของ 10, 100 หรือ 1,000ในรูปทศนิยม
กรณีนี้อาจจะต้องนำเศษและส่วนหารด้วยจำนวนนับหนึ่งก่อนแล้วจึงจะสามารถคูณอีกจำนวนนับหนึ่งแล้วตัวส่วนออกมาเป็น 10, 100 หรือ 1,000 ยกตัวอย่างโจทย์ได้ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1
ตัวอย่างที่ 2
ตัวอย่างที่ 3
สรุปการเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนไม่ใช่ 10, 100 หรือ 1,000 ให้อยู่ในรูปทศนิยม สามารถทำได้โดยต้องทำตามหลักการที่ได้อธิบายไว้ข้างบน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ 10, 100 หรือ 1,000 และเศษส่วนที่ตัวส่วนไม่ใช่ตัวประกอบของ10, 100 หรือ 1,000 หวังว่าบทความนี้จะช่วยทำให้น้องๆเข้าใจความสัมพันธ์ของเศษส่วนและทศนิยมได้มากขึ้นและสามารถทำแบบฝึกหัดได้อย่างถูกต้องนะคะ