โจทย์ปัญหาการนําเสนอข้อมูล

บทความนี้จะยกตัวอย่างเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาการนำเสนอข้อมูลให้น้องๆทราบถึงวิธีคิดหรือวิธีทำเพื่อหาคำตอบที่ถูกต้อง
Picture of tucksaga
tucksaga
โจทย์ปัญหาการนำเสนอข้อมูล

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ในบทเรียนเรื่องการนำเสนอข้อมูล การเขียนนำข้อมูลมานำเสนอในรูปแบบต่างๆเช่น แผนภูมิแท่ง หรือกราฟเส้น เมื่อเราทำการศึกษาและสามารถอ่านข้อมูลจากส่งเหล่านั้นได้แล้ว บทเรียนต่อไปจะเป็นเรื่องของโจทย์ปัญหาในการนำเสนอข้อมูล ที่จะมาในรูปแบบของคำถามที่ต้องหาคำตอบจาก แผนภูมิแท่งหรือกราฟเส้นที่โจทย์กำหนดมานั่นเอง

โจทย์ปัญหาการนำเสนอข้อมูล ป.5

ในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่องการนำเสนอข้อมูลนั้น คุณต้องมีพื้นฐานการอ่านข้อมูลจาก แผนภูมิ หรือกราฟก่อนจึงจะสามารถแก้ไขโจทย์และหาคำตอบออกมาได้อย่างถูกต้อง ยกตัวอย่างโจทย์ดังนี้

ตัวอย่างที่ 1 โจทย์ปัญหาแผนภูมิแท่ง

แผนภูมิแท่ง

จากแผนภูมิแท่งจงคำถามต่อไปนี้

ข้อที่ 1.) พ.ศ.2558 – พ.ศ.2560 สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกมากที่สุดกับน้อยที่สุดต่างกันเท่าใด

วิธีทำ สินค้าที่มีมูลค้าการส่งออกมาที่สุดคือ ข้าว ในปี พ.ศ.2560 มีมูลค่าเท่ากับ 174,000 ล้านบาท และสินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกที่น้อยที่สุดคือ ผลไม้สดและแห้ง ในปีพ.ศ. 2558 มีมูลค่าเท่ากับ 45,000 ล้านบาท

ดังนั้นมีมูลค่าต่างกันอยู่ที่ 174,000 –  45,000 = 129,000 ล้านบาท

ตอบ 129,000 ล้านบาท

ข้อที่ 2.) สินค้าที่มีมูลการส่งออกทั้งสามปีน้อยกว่า 200,000 ล้านบาทได้แก่อะไรบ้าง

วิธีทำ มูลค่าทั้งสามปีของข้าวเท่ากับ 156,000 + 155,000 + 174,000

                                                 = 485,000 ล้านบาท 

มูลค่าทั้งสามปีของผลิตภันฑ์มันสำปะหลังเท่ากับ  117,000 + 103,000 + 95,000

                                                 = 315,000 ล้านบาท

มูลค่าทั้งสามปีของไก่แปรรูปเท่ากับ 66,000 + 71,000 + 76,000

                                                 = 143,000 ล้านบาท

มูลค่าทั้งสามปีของผลไม้สดและแห้งเท่ากับ 45,000 + 54,000 + 77,000

                                                 = 176,000 ล้านบาท

ตอบ ไก่แปรรูป และ ผลไม้สดและแห้ง

ตัวอย่างที่ 2 โจทย์ปัญหากราฟเส้น

กราฟเส้น

จากกราฟเส้นจงคำถามต่อไปนี้

คำถาม: ตั้งแต่ พ.ศ.2556 – พ.ศ.2560 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยใช้ถ่านหินลิกไนต์เฉลี่ยปีละกี่ล้านตัน

วิธีทำ นำปริมาณถ่านหินลิกไนต์ที่ใช้ไปของปีพ.ศ.2556 – พ.ศ.2560มารวมกัน

จะได้      16.9 + 20.4 + 14.36 + 16.41 + 15.91 = 83.98 ล้านตัน

จากนั้นรวมปริมาณที่รวมกันข้างต้นเฉลี่ยให้กับ 5 ปี เท่าๆกัน

จะได้      83.98 ล้านตัน ÷ 5 = 16.796 ล้านตัน

ตอบ เฉลี่ยปีละ 16.796 ล้านตัน

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

อิศรญาณภาษิต

อิศรญาณภาษิต ศึกษาวรรณคดีคำสอนของไทย

อิศรญาณภาษิต เป็นวรรณคดีที่มีเนื้อหาสอนให้ผู้อ่านรู้จักลักษณะของกลอนเพลงยาวและยังสอดแทรกข้อคิดต่าง ๆ ไว้อีกมากมาย บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเจาะลึกถึงประวัติความความเป็นมา ผู้แต่ง ลักษณะคำประพันธ์ของกลอนเพลงยาว และตัวบทที่น่าสนใจ ๆ ในเรื่อง ถ้าน้อง ๆ อยากรู้แล้วว่าวรรณคดีเรื่องนีมีความเป็นมาและความสำคัญอย่างไร เหตุใดจึงอยู่ในแบบเรียนภาษาไทยในเราได้ศึกษากันอยู่ตอนนี้ ไปเรียนรู้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ     ความเป็นมาของ   อิศรญาณภาษิต (อ่านว่า

การนำเสนอข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลด้วยกราฟเส้น

การนำเสนอข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลด้วยกราฟเส้น การนำเสนอข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลด้วยกราฟเส้น เป็นกราฟที่นิยมใช้เเสดงความเปลี่ยนเเปลงของข้อมูลของข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยเรียงข้อมูลตามลำดับก่อนหลังของเวลาที่ข้อมูลนั้น ๆ เกิดขึ้น ทำให้เห็นเเนวโน้มของข้อมูลเเละช่วยให้เห็นการเปลี่ยนเเปลงของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงเเสดงถึงความสัมพันธ์ต่าง ๆ ของข้อมูล ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการพยากรณ์เกี่ยวกับข้อมูลนั้น ๆ ได้ ตัวอย่างรูปเเบบของกราฟเส้นที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในชีวิตประจำวัน ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลเเละเเปลความหมายข้อมูลด้วยกราฟเส้น  ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนกราฟเเสดงจำนวนผลไม้ที่ถูกขายตามข้อมูลดังนี้ วิธีทำ เริ่มจากการสร้างเเกน x เเละเเกน y โดยให้เเกน x เป็น

Imperative for Advice

Imperative for Advice: การให้คำแนะนำ

สวัสดีน้องๆ ป. 6 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาเรียนเรื่องง่ายๆ อย่าง Imperative for Advice กัน จะง่ายขนาดไหนเราลองไปดูกันเลยครับ

บทเสภาสามัคคีเสวก

บทเสภาสามัคคีเสวก ที่มาของกลอนเสภาอันทรงคุณค่า

บทเสภาสามัคคีเสวก   เมื่อเห็น บทเสภาสามัคคีเสวก ครั้งแรก เชื่อว่าต้องมีน้อง ๆ หลายคนต้องเผลออ่านคำว่า เสวก เป็น (สะ-เหวก) แน่ ๆ เลยใช่ไหมคะ แต่ที่จริงแล้วคำว่าเสวกนั้นต้องอ่านให้ถูกต้องว่า (เส-วก) ที่มีความหมายถึงผู้ใกล้ชิด เป็นยศของข้าราชการในราชสำนักนั่นเองค่ะ บทเรียนภาษาไทยในวันนี้ไม่เพียงแต่จะสอนอ่านให้ถูกต้อง แต่จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของเรื่องย่อวรรณคดีไทยอย่างบทเสภาสามัคคีเสวกกันอีกด้วย โดยจะเป็นเรื่องราวแบบไหน มีลักษณะคำประพันธ์และเรื่องย่ออย่างไรบ้าง เราไปศึกษาเรื่องนี้พร้อม

เทคนิคอ่านจับใจความ Skim and Scan

เทคนิคอ่านเร็วจับใจความในภาษาอังกฤษ (Skimming and Scanning)

เคยเป็นมั้ยว่าเจอบทความภาษาอังกฤษทีไร ปวดหัวทุกที ทั้งเยอะและยาว เมื่อไหร่จะอ่านจบกว่าจะตอบได้หมดเวลากันพอดี สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.1 ทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดูเทคนิคการอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ โดยใช้วิธีการที่เรียกว่า อ่านแบบเร็ว (จ๊วด …) หรือ Speed Reading (ภาษาอีสาน จ๊วด แปลว่า เร็วเหมือนเสียงปล่อยจรวด) ถ้าเราสามารถอ่านได้เร็วเหมือนจรวดคงเป็นสิ่งที่ดีมาก ไปจ๊วดกันเลยกับเทคนิคอ่านเร็วทุกคน ก่อนอื่นจะต้องรู้จักกับประเภทของ Speed Reading กันก่อนค่ะ การอ่านแบบจับใจความสำคัญส่วนใหญ่แล้วเราจะเจอ

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1