โจทย์ปัญหาการคูณทศนิยม

จากบทความที่แล้วเราได้วิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวกและการลบทศนิยมไปแล้ว บทความนี้จึงจะเป็นการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาที่เกี่ยวกับการคูณ รวมไปถึงการแสดงวิธีทำที่จะทำให้น้อง ๆ เข้าใจ และสามารถนำไปใช้ได้จริง

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

โจทย์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ส่วนใหญ่จะเป็นเหตุการณ์ที่สามารถพบเจอได้ในชีวิตจริง เช่นบทความเรื่องการบวกลบทศนิยม ก็จะเกี่ยวข้องกับการซื้อขาย เป็นต้น 

ดังนั้นการเรียนหัวข้อโจทย์ปัญหาการคูณทศนิยมนอกจากจะสามารถนำไปแก้โจทย์ปัญหาในห้องเรียนแล้ว น้องๆ ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการแก้โจทย์ปัญหาที่พบเจอได้ในชีวิตจริง

ตัวอย่างโจทย์ปัญหาการคูณทศนิยม

ตัวอย่างที่ 1

น้ำส้มคั้น 1 ขวด มีปริมาตร 625 มิลลิลิตร ถ้าซื้อน้ำส้มคั้น 1 โหล จะได้น้ำส้มคั้นกี่ลิตร

วิเคราะห์โจทย์: น้ำส้มคั้น 1 โหล มี 12 ขวด แต่ละขวดมีปริมาตรเท่ากัน คือ 625 มิลลิลิตร อยากทราบปริมาตรทั้งหมด แสดงว่าคือการเพิ่มขึ้นครั้งะเท่าๆกัน ดังนั้นโจทย์ปัญหาข้อนี้ต้องนำ 12 คูณด้วย 625 

ประโยคสัญลักษณ์: ( 1 x 12 ) x 625  = _______________

คูณทศนิยม

ตัวอย่างที่ 2 

กล่องกระดาษแต่ละใบมีความสูง 27.23 เซนติเมตร ถ้าวางกล่องซ็อนกัน 8 ใบ จะมีความสูงทั้งหมดเท่าไหร่ 

วิเคราะห์โจทย์: กล่องแต่ละใบมีความสูงเท่ากัน แสดงว่าความสูงเพิ่มขึ้นครั้งละเท่าๆกัน นั่นคือหลักการคูณ นำ 8 คูณด้วย 27.23

ประโยคสัญลักษณ์: 8 x 27.23  = _______________

โจทย์ทศนิยม

ตัวอย่างที่ 3

ไข่ไก่ราคาฟองละ 4.5 บาท ถ้าซื้อไข่ไก่ 24 ฟอง จะต้องจ่ายเงินกี่บาท
วิเคราะห์โจทย์: ไข่ไก่ทุกฟองมีราคาเท่ากัน ดังนั้น นำ 24 คูณด้ววย 4.5

ประโยคสัญลักษณ์: 24 x 4.5  = _______________

โจทย์ปัญหาการคูณเศษส่วน

ตัวอย่างที่ 4 

ญดาขายผักกาดกิโลกรัมละ 19.75 บาท ขายไป 23 กิโลกรัม ญดาจะได้เงินกี่บาท

วิเคราะห์โจทย์: ผัดกาด 1 กิโลกรัม ราคา 19.75 บาท ขายไป 23 กิโลกรัม แสดงว่าเพิ่มขึ้นครั้งละ 19.75 โดยเพิ่มขึ้น 23 ครั้ง นำ 23 คูณด้วย 19.75

ประโยคสัญลักษณ์: 23 x 19.75  = _______________

ทศนิยม

คลิปตัวอย่างเรื่องโจทย์ปัญหาการคูณทศนิยม

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

การเปลี่ยนแปลงคำ เรียนรู้วิวัฒนาการทางภาษาที่ไม่เคยหยุดนิ่ง

ภาษาเป็นเครื่องมือที่มนุษย์ใช้สื่อสารกัน แต่ในเมื่อสังคมมนุษย์ไม่สามารถหยุดนิ่งได้ และมีความเจริญทางวิทยาการใหม่ ๆ เข้ามาอยู่เสมอ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภาษามากมาย การเปลี่ยนแปลงคำ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในธรรมชาติของมนุษย์ จากครั้งที่แล้วที่เราได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของประโยคกันไป บทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ เจาะลึกอีกหนึ่งการเปลี่ยนแปลงซึ่งก็คือการเปลี่ยนแปลงคำว่ามีอะไรกันบ้าง และมีคำใดที่เคยใช้ในสมัยโบราณแต่ปัจจุบันเลิกใช้ไปแล้ว ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ   การเปลี่ยนแปลงคำ   เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดและเขียนเมื่อถูกใช้ต่อกันมาเรื่อย ๆ ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงคำต่าง ๆ สามารถแบ่งได้ดังนี้     1.

คำสมาสแบบสมาส คำสมาสแบบสนธิ

เรียนรู้หลักการสร้างคำสมาสแบบสมาส และคำสมาสแบบสนธิ

บทนำ คำสมาส และคำสนธิ ถือว่าเป็นหนึ่งบทเรียนในหลักภาษาไทยของระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่หลายคนมักมองว่าเป็นเรื่องยาก และปราบเซียนในการสอบสุด ๆ เนื่องจากว่าเราจะต้องมีพื้นฐานความเข้าใจเรื่อง คำบาลี สันสกฤตเพื่อให้สามารถแยกแยะคำ หรือสร้างคำใหม่ได้ รวมไปถึงต้องจำหลักการอ่านเชื่อมเสียงแบบต่าง ๆ จึงทำให้ใครหลายคนรู้สึกว่ามันยากมาก แต่จริง ๆ แล้วน้อง ๆ หลายคนอาจเคยได้ยินหลักการจำที่ว่า “คำสมาสนำมาชน สนธินำมาเชื่อม” ซึ่งเป็นวิธีที่น้อง ๆ ควรจะใช้เป็นแนวทางในการจำอย่างเข้าใจ ดังนั้น เพื่อเป็นการเรียนรู้เรื่องคำสมาสแบบสมาส และคำสมาสแบบสนธิให้เข้าใจมากขึ้น

หลักการใช้ Simple Present Tense+ Present Continuous Tense

สวัสดีนักเรียนชั้นม.1 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง” หลักการใช้ Simple Present Tense+ Present Continuous Tense” พร้อมทั้งตัวอย่างสถานการณ์ใกล้ตัว และเทคนิคการจำและนำ Tense ไปใช้กันจร้า ซึ่ง Simple Present Tenseและ Present Continuous Tense นั้นมีสิ่งที่เหมือนกันคือ อยู่ในรูปปัจจุบัน (Present) เหมือนกัน

รากที่สอง

รากที่สอง

การหารากที่สองของจำนวนจริงทำได้หลายวิธี สำหรับวิธีการคำนวณ นักเรียนจะได้เรียนในระดับชั้นที่สูงกว่านี้ สำหรับในชั้นนี้ นักเรียนอาจใช้การแยกตัวประกอบ การประมาณ การเปิดตาราง

ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.)

ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.)

             ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) ของจำนวนนับตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไปนั้น  เป็นการหาตัวหารร่วมหรือตัวประกอบร่วมที่มีค่ามากที่สุดของจำนวนนับเหล่านั้น ในบทความนี้ได้รวบรวมวิธี การหา ห.ร.ม. ไว้ทั้งหมด 3 วิธี น้องๆอาจคุ้นชินกับ การหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหาร แต่น้องๆทราบหรือไม่ว่าวิธีการหา ห.ร.ม. มีวิธีการดังต่อไปนี้ การหา ห.ร.ม. โดยการหาผลคูณร่วม การหา ห.ร.ม.

ศิลาจารึก วรรณคดีเชิงประวัติศาสตร์ที่สำคัญของคนไทย

ศิลาจารึก เป็นวรรณคดีเชิงประวัติศาสตร์ บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ย้อนอดีตไปในสมัยสุโขทัยเพื่อเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของศิลาจารึก ที่เป็นการบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ บนแผ่นดิน ถ้าอยากรู้แล้วว่าแผ่นหินที่ว่านี่มีประวัติความเป็นมาอย่างไร ก็ไปเรียนรู้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   ศิลาจารึกหลักที่ 1 ประวัติความเป็นมา     ศิลาจารึกหลักที่ 1 จารึกโดยพ่อขุนรามคำแหง ใช้อักษรไทย สุโขทัย หรือ ลายสือไทย

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1