หลักการเบื้องต้นของอัตราส่วน

“อัตราส่วน คือ ปริมาณ อย่างหนึ่งที่แสดงถึง จำนวน หรือ ขนาด ตามสัดส่วนเมื่อเปรียบเทียบกับอีก ปริมาณ หนึ่งที่เกี่ยวข้องกัน ที่อาจมีได้ตั้งแต่สองปริมาณขึ้นไป”
หลักการเบื้องต้นของอัตราส่วน

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ความหมายของอัตราส่วน

        อัตราส่วนจะเป็นปริมาณที่ไม่มีหน่วย หากอัตราส่วนนั้นเกี่ยวข้องกับปริมาณที่อยู่ใน มิติ เดียวกัน และเมื่อปริมาณของสองอย่างที่เปรียบเทียบกันเป็นคนละชนิด หน่วยของอัตราส่วนจะเป็น “หน่วยแรก” ต่อ “หน่วยที่สอง”

ตัวอย่างเช่น ความเร็ว สามารถแสดงได้ในหน่วย กิโลเมตร ต่อ ชั่วโมง ถ้าในกรณีที่หน่วยที่สอง เป็นหน่วยวัดเวลา เราจะเรียกอัตราส่วนนี้ว่า “อัตรา”

อัตราส่วน a ต่อ b เขียนแทนด้วย a : b

ระวัง!!!! ความหมายของอัตราส่วน a ต่อ b จะมีความหมายต่างจาก b ต่อ a

ตัวอย่างของอัตราส่วน

ตัวอย่างที่ 1 นาย ก มีหมู 3 ตัว นาย ข มีหมู 1 ตัว

 

อัตราส่วน

 

ตัวอย่างที่ 2 แดงมีพลังซุปเปอร์ฮีโร่ 3 หน่วย ขาวมีพลังซุปเปอร์ฮีโร่ 5 หน่วย

 

หลักการของอัตราส่วน

 

ตัวอย่างที่ 3 ถ้าในสวนมีอัตราส่วนดอกไม้ต่อใบไม้เป็น 1 : 2 ซึ่งสวนนี้มีดอกไม้ 4 ดอก ดังนั้นสวนนี้จะมีใบไม้กี่ใบ

หลักการอัตราส่วน

แล้วถ้ามีใบไม้ในสวน 50 ใบ สวนนี้จะมีดอกไม้กี่ดอกกันนะ

อัตราส่วนในรูปเศษส่วน

 


สรุปหลักการของอัตราส่วนก็คือ จำนวนที่ 1 ต่อ จำนวนที่ 2 จะไม่มีค่าเท่ากับจำนวนที่ 2 ต่อจำนวนที่ 1 หรือเข้าใจง่ายๆก็คือการเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปของอัตราส่วนนั่นเองซึ่งสามารถมีอัตราส่วนได้มากกว่าสองอัตราส่วนขึ้นไป บทความต่อไปจะเป็นเรื่องของอัตราส่วนที่เท่ากันพร้อมยกตัวอย่างการแสดงวิธีคิดที่เข้าใจง่ายและน้อง ๆ สามารถนำไปใช้ได้ในห้องเรียน

คลิปตัวอย่างเรื่องหลักการเบื้องต้นของอัตราส่วน

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

Three-word Phrasal Verbs

Three-word Phrasal verbs

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.5 ที่น่ารักทุกคนวันนี้ครูมีกริยาวลีที่ใช้บ่อยแบบ 3 คำ หรือ Three-word Phrasal Verbs มาฝากกันจ้า ด้านล่างเลยน๊า ขอให้ท่องศัพท์ให้สนุกจ้า ตารางคำศัพท์Three-word Phrasal Verbs ต้องรู้   ask somebody out ชวนออกเดท/ชวนออกไปข้างนอก add up to something ทำให้สมน้ำสมเนื้อ/ทำให้เท่ากัน back something up

verb to do

Verb To Do ใน Present Simple Tense

สวัสดีน้องๆ ป. 5 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับ Verb to do ที่ใช้ใน Present Simple Tense กันครับ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลย

Profile-Have has got P.5

ทบทวนการใช้ ” Have/has got “

สวัสดีค่ะนักเรียนป. 5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปทบทวนการใช้  Have/has got ในภาษาอังกฤษกันค่ะ ซึ่งก่อนอื่นต้อง มาทำความรู้จักกับ Verb to have กันก่อนซึ่ง เจ้า Verb to have ที่เราอาจจะคุ้นหูบ่อยๆ เช่น  Have a wonderful day. ขอให้มีวันที่ดีนะ เมื่อเราต้องการจบบทสนทนา

3 ขั้นตอนการเขียนโครงงานอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ทำได้

ในเมื่อมีการเขียนรายงานแล้วทำไมถึงยังต้องมีการเขียนโครงงาน? น้อง ๆ เคยสงสัยไหมคะว่า การเขียนโครงงาน นั้นไม่เหมือนกับรายงานทั่วไปอย่างไร มีองค์ประกอบและขั้นตอนการเขียนอย่างไร ถ้าอยากรู้แล้วเราไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อมกันเลยนะคะ   โครงงานคืออะไร   โครงงานเป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการโดยผู้เรียนจะเป็นผู้คิดค้น วางแผน ลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ อาศัยเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติ เพื่อให้โครงงานสำเร็จภายใต้คำแนะนำ การกระตุ้นความคิด กระตุ้นการทำงานของครูผู้สอนหรือผู้เชี่ยวชาญ ตั้งแต่คิดสร้างโครงงาน ลงมือปฏิบัติ ไปจนถึงประเมินผล   ความสำคัญของโครงงาน    

เสภาขุนช้างขุนแผน

เสภาขุนช้างขุนแผน จากนิทานชาวบ้านสู่วรรณคดีราชสำนัก

เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของกลอนเสภาและเป็นที่ยอมรับกันในหมู่นักวรรณคดีว่าเป็นเลิศทั้งในด้านเนื้อเรื่องและการประพันธ์ มีมากมายหลายตอน หลายสำนวนและหลายผู้แต่ง แต่บทเรียนที่น้อง ๆ จะได้ศึกษากันในวันนี้เป็น เสภาขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา จะมีเนื้อหาและความเป็นมาอย่างไรเราไปศึกษาเรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ   ความเป็นมาของ เสภาขุนช้างขุนแผน   ขุนช้างขุนแผนสันนิษฐานว่าเป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในสมัยอยุธยา จากพงศาวดารทำให้ทราบว่าขุนแผนรับราชการอยู่ในสมัยสมเด็จพระพันวษา หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ซึ่งครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2034-พ.ศ 2072 ต่อมามีการนำเรื่องขุนช้างขุนแผนมาแต่งเป็นกลอนสุภาพและบทเสภาโดยใช้กรับเป็นเครื่องประกอบจังหวะ

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1