ลบไม่ได้ช่วยให้ลืม เช่นเดียวกับการลบเศษส่วนและจำนวนคละ!

บทความที่แล้วเราได้กล่าวถึงการบวกเศษส่วนและจำนวนคละไปแล้ว บทต่อมาก็จะเป็นเรื่องของการลบเศษส่วนและจำนวนคละ ทั้งสองเรื่องนี้มีหลักการคล้ายกันต่างกันที่เครื่องหมายที่บ่งบอกว่าโจทย์ต้องการทราบอะไร ดังนั้นบทความนี้จะอธิบายถึงหลักการลบเศษส่วนและจำนวนคละอย่างละเอียดและยกตัวอย่างให้น้อง ๆเข้าใจอย่างเห็นภาพและสามารถนำไปปรับใช้กับแบบฝึกหัดเรื่องการลบเศษส่วนและจำนวนคละได้

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

การบวกลบจำนวนเต็มเป็นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ท่มีในหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์มาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล แต่การบวกลบเศษ่วนและจำนวนคละจะแตกต่างจากการบวกลบจำนวนเต็ม ที่ไม่สามารถนำตัวเลขมาบวกลบกันได้เลย เพราะมีสิ่งที่ต้องพิจารณาแตกต่างออกไปอีกหลายประการ ซึ่งจะมีอะไรบ้างเราจะมาอธิบายกันในบทความนี้

หลักการลบเศษส่วนมี 3 ประการ

  1. หา ค.ร.น. ของตัวส่วน หรือหาตัวเลขที่จะต้องคูณเพื่อทำให้ตัวส่วนเท่ากับตัวเลขนั้นลบเศษส่วน
  2. ทำตัวส่วนของให้เท่ากันก่อนที่จะนำเศษส่วนมาลบกันค.ร.น.ของตัวส่วน
  3. ลบเศษส่วนโดยลบเฉพาะตัวเศษ ตัวส่วนยังคงเหมือนเดิมการลบเศษส่วน

 

รูปแบบของการลบเศษส่วนและจำนวนคละ

1.การลบเศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนเท่ากัน

การลบเศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนเท่ากัน สามารถนำจำนวนนับลบกับจำนวนนับและเศษส่วนบลบกันเศษส่วนได้เลย  แต่ข้อควรระวังในการลบเศษส่วนต้องตรวจสอบก่อนว่าเศษส่วนที่อยู่ข้างหน้าต้องมากกว่าเศษส่วนที่อยู่ข้างหลังจึงจะสามารถลบกันได้เลย แต่ถ้าเศษส่วนน้อยกว่าตัวข้างหลังต้องทำการแปลงจำนวนคละให้เป็นเศษเกินทั้งหมดก่อนจึงจะสามารถลบกันได้ลบเศษส่วนจำนวนคละ

 

2.การบวกเศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนไม่เท่ากัน

การลบเศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องทำตัวส่วนให้เท่ากันก่อนจึงจะสามารถนำตัวเศษมาลบกันได้ ดังที่กล่าวไว้ข้างต้นเรื่องหลักการบวกเศษส่วน 3 ประการ จากนั้นต้องตรวจสอบเศษส่วนของตัวข้างหน้าว่าน้อยกว่าเศษส่วนตัวข้างหลังหรือไม่ ถ้ามากกว่าสามารถลบเศษส่วนได้เลยลบเศษส่วน

 

3.การบวกจำนวนคละและเศษเกิน

การลบจำนวนคละและเศษเกินสามารถทำได้ 2 วิธี คือเปลี่ยนเศษเกินให้เป็นจำนวนคละแล้วใช้หลักการลบจำนวนคละกับจำนวนคละ หรือเปลี่ยนจำนวนคละให้เป็นเศษเกินแล้วใช้หลักการลบเศษส่วนแต่วิธีนี้หลังจากลบเศษส่วนเสร็จแล้วและผลลัพธ์ออกมาเป็นเศษเกินต้องทำการแปลงให้เป็นจำนวนคละด้วยจึงจะทำให้ได้คำตอบที่สมบูรณ์โจทย์การลบเศษส่วน

วิธีที่ 1 แปลงเศษเกินให้เป็นจำนวนคละ

 

การลบเศษส่วน

วิธีที่ 2 แปลงจำนวนคละให้เป็นเศษเกิน


สรุปเรื่องการลบเศษส่วนและจำนวนคละ หลักการมี 3 ขั้นตอนและรูปแบบการลบเศษส่วนและจำนวนคละนั้นมี 3 รูปแบบ ดังที่อธิบายและยกตัวอย่างวิธีคิดในบทความข้างบน ข้อควรระวังก็คือการตรวจสอบเศษส่วนก่อนจะลบ เพราะถ้านำเศษส่วนที่น้อยกว่าลบเศษส่วนที่มากกว่าแล้วคำตอบอาจจะผิดได้ หากน้อง ๆ เข้าใจขั้นตอนของการลบเศษส่วนไม่ว่าโจทย์จะเป็นการลบในรูปแบบไหนก็จะสามารถทำโจทย์การลบเศษส่วนและจำนวนคละได้ถูกต้องอย่างแน่นอน

คลิปตัวอย่างเรื่องการลบเศษส่วนและจำนวนคละ

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

การนำเสนอข้อมูลในรูปตารางแจกแจงความถี่

การนำเสนอข้อมูลในรูปตารางแจกแจงความถี่

การแจกแจงความถี่ของข้อมูล (Frequency distribution)              การแจกแจงความถี่ของข้อมูล  เป็นวิธีการทางสถิติอย่างหนึ่งที่ใช้ในการจัดข้อมูลที่มีอยู่ให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อความสะดวกในการนำเสนอและการวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น  มี 2 ลักษณะ คือ ตารางแจกแจงความถี่แบบไม่เป็นอันตรภาคชั้น และ ตารางแจกแจงความถี่แบบไม่เป็นอันตรภาคชั้น การสร้างตารางแจกแจงความถี่ แบบไม่เป็นอันตรภาคชั้น การนำเสนอข้อมูลในรูปตารางแจกแจงความถี่ แบบไม่เป็นอันตรภาคชั้น เหมาะสำหรับข้อมูลที่มีค่าจาการสังเกตไม่มากนักหรือไม่ซับซ้อน  1.

อิศรญาณภาษิต

อิศรญาณภาษิต ศึกษาวรรณคดีคำสอนของไทย

อิศรญาณภาษิต เป็นวรรณคดีที่มีเนื้อหาสอนให้ผู้อ่านรู้จักลักษณะของกลอนเพลงยาวและยังสอดแทรกข้อคิดต่าง ๆ ไว้อีกมากมาย บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเจาะลึกถึงประวัติความความเป็นมา ผู้แต่ง ลักษณะคำประพันธ์ของกลอนเพลงยาว และตัวบทที่น่าสนใจ ๆ ในเรื่อง ถ้าน้อง ๆ อยากรู้แล้วว่าวรรณคดีเรื่องนีมีความเป็นมาและความสำคัญอย่างไร เหตุใดจึงอยู่ในแบบเรียนภาษาไทยในเราได้ศึกษากันอยู่ตอนนี้ ไปเรียนรู้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ     ความเป็นมาของ   อิศรญาณภาษิต (อ่านว่า

ประโยคปฏิเสธรูปแบบอดีต

สวัสดีค่ะนักเรียน ม.2 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปทบทวนเรื่อง ประโยคปฏิเสธรูปแบบอดีต ซึ่งเมื่อเล่าถึงเวลาในอดีตส่วนใหญ่แล้วเรามักเจอคำว่า yesterday (เมื่อวานนี้), 1998 (ปี ค.ศ. ที่ผ่านมานานแล้ว), last month (เดือนที่แล้ว)  และกลุ่มคำอื่นๆ ที่กำกับเวลาในอดีต ซึ่งเราจะเจอ Past Time Expressions ในกลุ่ม Past Tenses หรือ อดีตกาล

ตัวอย่างโจทย์ปัญหาสัดส่วน

บทความนี้เราจะได้เรียนรู้วิธีการในการหาค่าตัวแปรในการใช้สัดส่วน สามารถมารถนำไปประยุกต์ใช้กับการแก้โจทย์ปัญหาในชีวิตจริงได้ พิจารณาสิ่งที่ต้องการแสดงการเปรียบเทียบโดยการเขียนเป็นอัตราส่วนสองอัตราส่วนอย่างเป็นลำดับและหาค่าของตัวแปรได้

Imperative Sentence: เรียนรู้การใช้ประโยคคำสั่ง ขอร้องในชีวิตประจำวัน

เชื่อว่าชีวิตประจำวันของน้องๆ ไม่ว่าจะเป็นที่โรงเรียน ที่บ้าน หรือเวลาออกไปเที่ยว น้องๆ อาจจะเคยได้ยินประโยคประมาณนี้กันมาบ้าง

Turn off the computer! (จงปิดคอมพิวเตอร์!)

Please pass me the sugar (ช่วยส่งน้ำตาลมาให้ที)

Drink a lot of water (ดื่มน้ำเยอะๆ)

ประโยคเหล่านี้ภาษาอังกฤษมีชื่อเรียกว่า Imperative Sentence วันนี้เราจะมาดูกันว่า Imperative Sentence คืออะไร และสามารถใช้ในสถานการณ์ไหนได้บ้าง

จำนวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์

จำนวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์

       บทความนี้ ได้รวบรวมเนื้อหาเรื่อง จำนวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการบวกลบจำนวนเต็ม โดยก่อนหน้านี้น้องๆได้เรียนเรื่องการเปรียบเทียบจำนวนเต็มมาแล้ว ต่อไปจะพูดถึงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มใดๆ จะหาได้จากระยะที่จำนวนเต็มนั้นอยู่ห่างจาก 0 บนเส้นจำนวน แต่ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกับจำนวนตรงข้ามกันก่อนนะคะ จำนวนตรงข้าม       “หากค่าของจำนวนที่อยู่ห่างจาก 0 เท่ากัน แต่อยู่ต่างทิศทางกันมีค่าเท่ากันหรือไม่” (ค่าไม่เท่ากัน)           

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1