- นักเรียนสามารถได้รับคะแนนสอบที่ดีจากการสอบที่โรงเรียน และยังสามารถเตรียมตัวสำหรับการสอบ ONET และการสอบเข้าต่าง ๆ โดยคุณครูผู้เชี่ยวชาญของเรา
- ปลดล็อคคลิปทุกคลิป แบบฝึกหัด และฟีเจอร์แบบฝึกหัด
ติว ม.3 เรียนพิเศษ ออนไลน์

ผลตอบรับจากผู้ใช้งานจริง





















ประวัติการไลฟ์สอนยอดนิยม
สามารถกดย้อนดูคลิปที่เคยผ่านการไลฟ์สอนไปแล้ว เพื่อทบทวนอีกครั้ง
เตรียมสอบเข้า ม.4 โรงเรียนชื่อดัง ตอนที่ 1
9 November 2022- + ภาษาอังกฤษ
- + ครูกรีซ
- + ม. 1
- + ม. 2
- + ม. 3
ลักษณะสำคัญทางภาษาไทย ฉบับ เอเวอเรสต์ก็แค่ยอดหญ้า (ม.1-3) ครั้งที่ 1
26 July 2024- + ภาษาไทย
- + ครูอุ้ม
- + ม. 1
- + ม. 2
- + ม. 3
บทสนทนาที่มักออกสอบ (ตอนที่ 1) (summer course)
15 March 2023- + ภาษาอังกฤษ
- + ครูกรีซ
- + ป. 4
- + ป. 5
- + ป. 6
- + ม. 1
- + ม. 2
- + ม. 3

ดูได้ทั้ง 4 รายวิชา

2,000+ คลิป และแบบทดสอบกว่า 4,000+ ข้อ
อัพเดทคลิปใหม่ๆ ทุกสัปดาห์ และคุณสามารถดูคลิปอะไรก็ได้ที่คุณต้องการจากเนื้อหาของเรา

บทเรียนแบบโต้ตอบ

แข่งขันกับเพื่อนๆ

กราฟการเรียนรู้

ใช้ได้ทุกอุปกรณ์
บริการของเรา
ทดลองใช้งานฟรี 3 วัน เพื่อเข้าถึงบริการของเราได้แบบไม่จำกัดวิชา!
มีบทเรียนมากกว่า 2,000+ คลิป 4,000+ แบบฝึกหัด และ ดูประวัติการไลฟ์สอน ได้ไม่จำกัด บนทุกอุปกรณ์
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
- บัตรเครดิต
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
- บัตรเครดิต
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
บทความ ม.3

การอ่านบทร้อยกรอง กาพย์และโคลงอ่านอย่างไรให้ไพเราะ
น้อง ๆ คงจะรู้การคำประพันธ์อย่างกาพย์และโคลงกันอยู่แล้วใช่ไหมคะ เพราะวรรณคดีไทยหลาย ๆ เรื่องที่เราเรียนกันมา ก็ใช้กาพย์และโคลงแต่งกันเสียส่วนใหญ่ และหลังจากที่ได้เรียนลักษณะการแต่งกาพย์กับโคลงสี่สุภาพ ให้ไพเราะกันไปแล้ว จะแต่งอย่างเดียวโดยไม่อ่านให้ถูกต้องก็ไม่ได้ใช่ไหมล่ะคะ ดังนั้นบทเรียนวันนี้จะพาร้อง ๆ ไปเรียนรู้เรื่อง การอ่านบทร้อยกรอง กันบ้าง ว่ามีวิธีอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและไพเราะ ไปเรียนรู้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ การอ่านบทร้อยกรอง การอ่านบทร้องกรอง ประเภทกาพย์

การใช้คำสันธาน(Conjunctions)
สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.3 ที่รักทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้กันเรื่อง “การใช้คำสันธาน(Conjunctions)“ กันนะคะ ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลด คำสันธาน(Conjunctions)คืออะไร คำสันธาน (Conjunctions) คือ คำที่ใช้เชื่อมระหว่างประโยคต่อประโยค คำต่อคำ หรือระหว่างกริยาต่อกริยา และอื่นๆ เช่น for, and, or, nor, so, because, since ดังตัวอย่างด้านล่างเลยจ้า ตัวอย่างเช่น เชื่อมนามกับนาม

พระบรมราโชวาท จดหมายของร.5ที่เขียนถึงพระโอรส
พระบรมราโชวาท เป็นจดหมายร้อยแก้วที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เขียนให้พระโอรสทั้ง 4 พระองค์ก่อนจะไปศึกษาต่างประเทศ เหตุใดเนื้อความในจดหมายถึงกลายเป็นวรรณคดีอันทรงคุณค่าให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา บทเรียนในวันนี้จะพาไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาและเนื้อหาโดยรวมของเนื้อความเพื่อให้เข้าใจถึงคำสอนและข้อคิดจากพระบรมราโชวาทของพระมหากษัตริย์ในแง่มุมของพ่อสอนลูก จะเป็นอย่างไรไปเรียนรู้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ ประวัติความเป็นมา วรรณคดีเรื่องพระบรมราโชวาท เป็นคำสั่งสอนของรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่มีต่อพระราชโอรสทั้ง 4 พระองค์ที่กำลังจะเดินทางไปศึกษาต่อต่างประเทศ พระองค์จึงมีพระบรมราโชวาทเพื่อสั่งสอนและตักเตือนพระราชโอรส ซึ่งในการส่งไปศึกษาต่อในครั้งนี้ พระองค์ทรงเล็งเห็นว่า การศึกษาเป็นรากฐานของการพัฒนาประชาชนและประเทศชาติ