เรียนรู้สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์

Picture of Chisanucha
Chisanucha

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

จากที่เราได้เรียนรู้ในเรื่องของสำนวนกันมามากแล้ว ไม่ว่าจะเป็นความหมาย ที่มา ลักษณะ ความสำคัญ หรือคุณค่า รวมไปถึงตัวอย่างสำนวนไทยน่ารู้ที่เราได้ยกมาแล้วอธิบายความหมาย แต่น้อง ๆ สังเกตไหมคะว่า สำนวนไทยมีหลายสำนวนเลยที่มักจะเกี่ยวข้องกับสัตว์ สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์ ไม่ได้มีขึ้นเพื่อกล่าวถึงสัตว์ตรง ๆ แต่เป็นการนำสัตว์มาเปรียบเทียบกับคน บทเรียนในวันนี้ จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้กันว่าสัตว์แต่ละชนิดแทนพฤติกรรมไหนของคน และจะมีสำนวนใดบ้างที่เราควรรู้ ถ้าพร้อมแล้ว ไปดูกันเลยค่ะ

 

สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์

 

ทัศนคติของคนไทยที่มีต่อสัตว์มาจากลักษณะรูปร่างและนิสัยที่โดดเด่นบางประการของสัตว์จึงนำสิ่งเหล่านั้นมาเปรียบเทียบกับคน

 

สัตว์ในสำนวนไทย

 

สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์

 

1. สัตว์ที่ถูกเปรียบเทียบในเชิงบวก มีอำนาจ กล้าหาญ จะเป็นสัตว์ที่มีรูปร่างสง่า เช่น ช้าง เสือ สิงโต นกอินทรี

2. สัตว์ที่ถูกเปรียบเทียบในเชิงลบ มีรูปลักษณ์หรือมีนิสัยที่ผิดศีลธรรมขัดกับขนบธรรมเนียมประเพณีไทยจึงถูกนำไปเปรียบกับคนเลวหรือสิ่งเลวร้าย เช่น คางคก เสือ จระเข้ ตัวเงินตัวทอง กา หมา หมู ควาย

 

ตัวอย่างสำนวน

 

สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์

 

ที่มาของสำนวน :

นำพฤติกรรมของแมวมาเปรียบเทียบ เพราะแมวมักมีนิสัยชอบไล่จับหนู ทำให้หนูต้องวิ่งหนีและกลัวอยู่เสมอ บ้านไหนมีแมว บ้านนั้นก็จะไม่มีหนู แต่ถ้าไม่มีแมว พวกหนูก็จะมีความสุขคึกคะนอง ออกมาหากินได้อย่างเพลิดเพลิน เพราะไม่ต้องกลัวแมวจะมาทำร้าย

 

สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์

 

ที่มาของสำนวน :

มาจากลักษณะของไก่ที่สวยเพราะมีขนปกคลุมร่างกาย จึงเอามาเปรียบกับคนที่จะสวยก็ต่อเมื่อต้องแต่งตัวหรือแต่งหน้าดี ๆ

 

 

ที่มาของสำนวน :

ที่มาขอสำนวนนี้ มาจากการนิทานที่กล่าวถึงกบตัวหนึ่งที่ถูกขังอยู่ในกะลามาตั้งแต่ยังเล็ก โดยที่ไม่ได้ออกมาสู่โลกภายนอกเลยคิดว่าตัวเองรู้ทุกอย่างภายในโลกกะลาของตัวเองอย่างดี จนมีวันหนึ่งกะลานั้นแตกและกบหลุดออกมาภายนอกกะลาที่ครอบตัวเองอยู่ จึงรู้และเข้าใจว่าโลกภายนอกนั้น มีหลายสิ่งมากมายที่ตัวเองนั้นไม่รู้

 

 

ที่มาของสำนวน :

มาจากมโหสถชาดก เป็นเรื่องราวครั้งที่พระพุทธเจ้าเสวยพระชาติเป็นมโหสถ บัณฑิตเจ้าปัญญา อยู่มาวันหนึ่งมีกิ้งก่าเดินมามอบต่อหน้าพระราชาทำให้พระราชาคิดว่ามันเป็นกิ้งก่าแสนรู้ มโนสถจึงแนะนำนให้พระราชาพระราชทานเนื้อให้กิ้งก่าตัวนั้น เมื่อกิ้งก่าได้กินเนื้อทุกวันก็ทำความเคารพพระราชาทุกวัน แต่มีอยู่วันหนึ่งที่ไม่มีเนื้อ ทำให้พระราชาเอาทองมาคล้องคอกิ้งก่าแทนเป็นรางวัล กิ้งก่าที่มีทองจึงหลงคิดว่าตัวเองเทียบเท่าพระราชาแล้วจึงไม่ต้องการที่จะทำความเคารพอีกต่อไป พระราชาจึงสั่งให้ฆ่ากิ้งก่าทิ้ง แต่มโหสถห้ามไว้ สุดท้ายกิ้งก่าตัวนั้นก็ไม่ได้รับทั้งทองและเนื้ออย่างที่เคยได้อีกต่อไป แต่นอกจากตำนานแล้ว กิ้งก่าก็มีลักษณะที่เหมือนชูคอขึ้นอยู่ตลอดเวลาทำให้ถูกนำมาเปรียบเทียบกับลักษณะของคนที่ทะนงตน

 

 

สำนวนไทยที่เกี่ยวกับสัตว์ยังอีกมากมายหลายสำนวน เพราะคนไทยมีทัศนคติต่อสัตว์แตกต่างกัน นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมของคนไทยในอีกหลาย ๆ ด้านอีกด้วย เรียกได้ว่านอกจากจะได้ความรู้ทางภาษาแล้วยังได้เรียนรู้เรื่องอื่น ๆ ไปในตัวด้วยอีกต่างหาก สุดท้ายนี้อย่าลืมไปชมคลิปการสอนของครูอุ้มที่อธิบายความหมายของแต่ละสำนวนไว้ด้วยนะคะ ถึงแม้ว่าเราจะเรียนเรื่องสำนวนกันมามากแล้วแต่รับรองว่าไม่น่าเบื่อแน่นอนค่ะ ไปชมกันเลย

 

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

แยกให้ออก บอกให้ถูกสำนวน สุภาษิต คำพังเพยแตกต่างกันอย่างไร?

บทนำ สวัสดีน้อง ๆ ที่น่ารักทุกคนกลับมาเข้าสู่เนื้อหาการเรียนภาษาไทยกันอีกเช่นเคย สำหรับวันนี้จะเป็นบทเรียนที่ทั้งสนุก มีสาระ และเป็นเนื้อหาที่เราต้องได้เจอบ่อย ๆ ในการเรียนภาษาไทยอย่างเรื่องสำนวน สุภาษิต และคำพังเพย น้อง ๆ อาจจะเคยได้ผ่านหูผ่านตากันมาบ้างเพราะเป็นบทเรียนที่ได้เริ่มเรียนตั้งแต่ช่วงประถมศึกษาแล้ว แต่วันนี้เราจะมาเรียนรู้ในเชิงลึกขึ้นไปอีกเกี่ยวกับวิธีการสังเกตระหว่างสำนวน สุภาษิต และคำพังเพยนั้นมีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร มีตัวอย่างประกอบให้ทุกคนได้ดูด้วย ถ้าน้อง ๆ คนไหนพร้อมแล้วก็ไปลุยกับเนื้อหาของวันนี้ได้เลย   สำนวน สำนวน

Suggesting Profile

การแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม. 3 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดูเทคนิค การแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจร้า การแสดงความต้องการ     Question: สงสัยมั้ยว่า need/want /would like to have สามคำนี้ต่างกันยังไง? ตัวอย่างการใช้ need VS want  ในประโยคบอกเล่า เช่น

จำนวนสมาชิกของเซตจำกัด

จำนวนสมาชิกของเซตจำกัด เป็นเรื่องที่สามารถเอาไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง และสิ่งที่น้องๆจะได้หลังจากอ่านบทความนี้คือ น้องๆจะสามารถทำโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจำนวนสมาชิกของเซตจำกัดได้ และอาจจะเอาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย

M2 V. to be + ร่วมกับ Who WhatWhere + -Like + infinitive

การใช้ V. to be ร่วมกับ Who/ What/Where และ Like +V. infinitive

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.2 ทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง การใช้ V. to be + ร่วมกับ Who/ What/Where + -Like + infinitive ซึ่งเป็นโครงสร้างที่สับสนบ่อย แต่ที่จริงแล้วง่ายมากๆ ไปลุยกันเลยจ้า Let’s go ความหมาย    Verb to be

NokAcademy_ ม.5 Modlas in the Past

Modals in the Past

  สวัสดีค่านักเรียนชั้นม.5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปดู ” Modals in the Past “ ที่ใช้บ่อยพร้อมเทคนิคการใช้งานง่ายๆกันค่า Let’s go! ไปลุยกันเลยจร้า   ทบทวน Modal Verbs      Modal Auxiliaries คือ กริยาช่วยกลุ่ม  Modal

วิชชุมมาลาฉันท์

เรียนรู้การแต่ง วิชชุมมาลาฉันท์ 8 ฉันท์ที่เปล่งสำเนียงยาวดุจสายฟ้า

ฉันท์ คือ ลักษณะถ้อยคำที่กวีได้ประพันธ์ขึ้นเพื่อให้เกิดความไพเราะ โดยกำหนดครุ ลหุ และสัมผัสไว้เป็นมาตรฐาน มีด้วยกันมากมายหลายชนิด จากที่บทเรียนครั้งก่อนเราได้เรียนรู้เกี่ยวกับที่มาและพื้นฐานการแต่งฉันท์ไปแล้ว บทเรียนในวันนี้เราจะมาเจาะลึกให้ลึกขึ้นไปอีกด้วยการฝึกแต่ง วิชชุมมาลาฉันท์ 8 กันค่ะ ฉันท์ประเภทนี้จะเป็นอย่างไร ทำไมถึงเป็น 8  ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ   คำประพันธ์ประเภท ฉันท์   ฉันท์ในภาษาไทยได้แบบแผนมาจากอินเดีย ในสมัยพระเวท แต่ลักษณะฉันท์ในสมัยพระเวทไม่เคร่งครัดเรื่องครุ ลหุ นอกจากจะบังคับเรื่องจำนวนคำในแต่ละบท

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1