เรียนรู้บทร้องกรองสุภาษิต ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

การนำสุภาษิตมาแต่งเป็นบทร้อยกรอง เรียกว่า บทประพันธ์ร้อยกรองสุภาษิต ซึ่งบทที่น้อง ๆ จะได้เรียนกันในวันนี้คือบทร้อยกรองสุภาษิตเรื่อง ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน เราไปดูกันเลยค่ะว่าที่มจากของบทร้อยกรองนี้จะเป็นอย่างไร มาจากสุภาษิตอะไร รวมไปถึงถอดความหมายตัวบท ศึกษาคำศัพท์ที่น่ารู้และศึกษาคุณค่าที่อยู่ในเรื่องด้วยค่ะ ถ้าพร้อมแล้วเราไปดูพร้อมกันเลย

 

ความเป็นมา ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน

 

ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน

 

ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ผู้แต่งคือ นายเพิ่ม สวัสดิ์วรรณกิจ เป็นบทร้อยกรองประเภทกลอนแปด พิมพ์รวมอยู่ในหนังสือบทประพันธ์อธิบายสุภาษิตของวรรณคดีสมาคมแห่งประเทศไทย

 

ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน

 

ตัวบท

 

ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน

 

แปล

เมื่อเรามีโอกาสได้เกิดมาแล้วทั้งที ก็อย่าเอาแต่พึ่งคนอื่นให้เขาดูถูกแต่ควรคิดพึ่งตัวเองและมีความพยายามในการทำสิ่งต่าง ๆ ไม่ว่าจะทำไร่ทำนาหรือค้าขายก็ล้วนเป็นการมีเกียรติ อย่าดูถูกว่าเป็นงานไม่ดี หรือถ้าชอบงานอุตสาหกรรมก็ให้เลือกตามที่ถนัดขอแค่อย่าผัดวันไปเรื่อย ๆ ไม่ลงมือทำเสียที

 

ตัวบท

 

 

แปล

เมื่อเราได้อาชีพแล้วเราก็เอาใจเข้าสู้ เอาสติปัญญา เอาความรู้ที่มีเป็นแรงในการประกอบอาชีพ และเอาความพยายามเป็นตัวช่วยนำชีวิต สุดท้ายแล้วเงินและทองก็จะมาหาเราเอง เพราะประเทศไทยนั้นอุดมไปด้วยทรัพยากรอันมีค่า พร้อมจะช่วยให้เราประสบความสำเร็จไม่ยาก

 

คำศัพท์น่ารู้

บากบั่น หมายถึง พยายาม มุ่งมั่งไม่ท้อถอย

กสิกิจ หมายถึง การทำไร่ ไถนา

เกียรติ หมายถึง ชื่อเสียง ความยกย่องนับถือ

ผัด หมายถึง ขอเลื่อนเวลาไป

พาณิชยการ หมายถึง การค้าขาย

พึ่ง หมายถึง อาศัย ขอความช่วยเหลือ

หยัน หมายถึง เยาะเย้ย

อุตสาหกรรม หมายถึง กิจกรรมที่ใช้ทุนและแรงงานเพื่อผลิตสิ่งของ

อำนวย หมายถึง ให้

เพียร หมายถึง พยายามจนกว่าจะสำเร็จ

ยาน หมายถึง เครื่องนำไป

 

ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง

 

 

บทประพันธ์ร้อยกรองสุภาษิตมีขึ้นเพื่อให้เด็ก ๆ ได้ฝึกอ่านและจดจำเกี่ยวกับสุภาษิตได้ง่ายขึ้น อีกทั้งยังช่วยอธิบายความหมายให้ชัดเจนมากขึ้นอีกด้วย จากบทประพันธ์น้อง ๆ ก็จะเห็นข้อดีของพึ่งพาตัวเองในการทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยความพยายามและใจรัก ไม่เอาแต่พึ่งพาคนอื่น รอความช่วยเหลือจากคนอื่น ถือว่าเป็นอีกเรื่องที่มีข้อคิดดีมาก สามารถนำไปใช้ได้จริง น้อง ๆ เองก็อย่าลืมนำสุภาษิตเรื่องนี้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันกันนะคะ สุดท้ายนี้เพื่อไม่ให้พลาดความรู้ดี ๆ ก็อย่าลืมเข้าไปชมคลิปการสอนของครูอุ้มเพื่อฟังคำอธิบายเกี่ยวกับตัวบทเพิ่มเติมด้วย น้อง ๆ จะได้เข้าใจความหมายและคำศัพท์ในเรื่องด้วย ไปชมเลยค่ะ

 

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

โจทย์ปัญหาแผนภูมิรูปวงกลม

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้หลักการแก้โจทย์ปัญหาแผนภูมิรูปวงกลมที่จะนำไปใช้ได้ในชีวิตประจำวนและสามารถเข้าใจได้ง่าย

E6 This, That, These, Those

This, That, These, Those

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.6 ที่น่ารักทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนเรื่อง This, That, These, Those กันค่ะ พร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจ้า   เข้าสู่บทเรียน   ก่อนที่นักเรียนจะไปเรียนเรื่อง การใช้  This, That, These, Those ครูอยากจะให้ลองดูตัวอย่างของการใช้ This, That, These, Those (Determiners) และ This,

แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

บทความนี้จะเป็นการ แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ซึ่งอสมการ เป็นประโยคที่แสดงถึงการไม่เท่ากัน โดยมีวิธีการหาคำตอบคล้ายๆกับสมการ น้องๆสามารถศึกษาบทความเรื่องโจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เพื่อศึกษาวิธีการแก้สมการและนำมาประยุกต์ใช้กับการแก้อสมการเพิ่มเติมได้ที่  ⇒⇒โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว⇐⇐ แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว        อสมการ (inequality) เป็นประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของจำนวนโดยมีสัญลักษณ์  <, >, ≤, ≥ หรือ ≠  แสดงความสัมพันธ์         อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

คำสมาสแบบสมาส คำสมาสแบบสนธิ

เรียนรู้หลักการสร้างคำสมาสแบบสมาส และคำสมาสแบบสนธิ

บทนำ คำสมาส และคำสนธิ ถือว่าเป็นหนึ่งบทเรียนในหลักภาษาไทยของระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่หลายคนมักมองว่าเป็นเรื่องยาก และปราบเซียนในการสอบสุด ๆ เนื่องจากว่าเราจะต้องมีพื้นฐานความเข้าใจเรื่อง คำบาลี สันสกฤตเพื่อให้สามารถแยกแยะคำ หรือสร้างคำใหม่ได้ รวมไปถึงต้องจำหลักการอ่านเชื่อมเสียงแบบต่าง ๆ จึงทำให้ใครหลายคนรู้สึกว่ามันยากมาก แต่จริง ๆ แล้วน้อง ๆ หลายคนอาจเคยได้ยินหลักการจำที่ว่า “คำสมาสนำมาชน สนธินำมาเชื่อม” ซึ่งเป็นวิธีที่น้อง ๆ ควรจะใช้เป็นแนวทางในการจำอย่างเข้าใจ ดังนั้น เพื่อเป็นการเรียนรู้เรื่องคำสมาสแบบสมาส และคำสมาสแบบสนธิให้เข้าใจมากขึ้น

การอ่านบทร้อยแก้ว อ่านอย่างไรให้น่าฟัง

หลังจากที่เราได้เรียนรู้เรื่องการบทร้อยกรองไปแล้ว วันนี้เราจะมาพูดถึงบทร้อยแก้วกันบ้าง ซึ่งน้อง ๆ หลายคนคงจะรู้จักบทร้อยแก้วกันดีอยู่แล้ว เพราะเป็นสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจำวัน แต่น้อง ๆ ทราบไหมคะว่า การอ่านบทร้อยแก้ว ก็มีวิธีอ่านที่ถูกต้องเหมือนกัน เพราะการที่เราอ่านไม่ถูกต้องนั้นก็อาจจะทำให้ไม่น่าฟัง น่าเบื่อ รวมไปถึงอาจทำให้ใจความที่ผู้แต่งต้องการจะสื่อสารคลาดเคลื่อนได้อีกด้วย ถ้าอยากรู้แล้วว่ามีหลักเกณฑ์และวิธีอ่านอย่างไร ไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ   ร้อยแก้วคืออะไร ?   บทข้อความทั่วๆ ไป ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน โดยต้องเขียนเป็นประโยค ข้อความติดต่อกัน

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1