เรียนรู้ความเหมือนที่แตกต่างของคำพ้อง

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

 

น้อง ๆ หลายคนคงจะเคยเห็นฝาแฝดกันมาบ้างใช่ไหมคะ แล้วรู้หรือเปล่าคะว่าในภาษาไทยเรานั้นก็มีฝาแฝดเหมือนกัน แต่ฝาแฝดนั้นถูกเรียกว่า คำพ้อง นั่นเองค่ะ หลายคำในภาษาไทยมีจุดที่เหมือนกันแต่ก็มีส่วนที่ต่างกันออกไปด้วย เพื่อไม่ให้สับสนว่าคำไหนคือคำไหน อ่านอย่างไร หมายความว่าอะไรกันแน่ วันนี้เราไปเรียนรู้เรื่องคำพ้องพร้อม ๆ กันเลยค่ะ

 

คำพ้อง

 

ความหมายของคำพ้อง

 

 

ประเภทของคำพ้อง

 

 

คำพ้องเสียง

คำพ้องเสียง หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนและมีความหมายไม่เหมือนกัน

 

คำพ้อง

 

ตัวอย่างประโยค

ฉันทำที่คั่นหนังสือตกไว้ตรงขั้นบันได

วันศุกร์แล้วฉันมีความสุขมาก

น้องสาวฉันหน้าตาน่ารัก

 

คำพ้องรูป

คำพ้องรูป หมายถึง คำที่เขียนเหมือนกันแต่อ่านออกเสียงและมีความหมายไม่เหมือนกัน

 

คำพ้อง

 

ข้อสังเกต

นอกจากจะมีคำพ้องรูปและพ้องเสียงแล้ว บางคำในภาษาไทยยังเป็นคำที่มีพ้องรูปและพ้องเสียงในคำเดียวแต่มีความหมายต่างออกไป

ตัวอย่างพ้องรูปพ้องเสียงที่มีความหมายต่างกัน

ฟัน หมายถึง ใช้ของมีคมฟาดลงไป และหมายถึง กระดูกซี่ ๆ ที่อยู่ในปาก

ขัน หมายถึง ภาชนะที่ใช้ตักน้ำ เสียงร้องของไก่ และการทำให้แน่น เช่น ขันนอตให้แน่น

 

คำพ้องความหมาย

คำพ้องความหมาย หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า คำไวพจน์ เป็นคำที่เขียนและอ่านออกเสียงไม่เหมือนกันแต่มีความหมายเหมือนกัน

 

ตัวอย่างคำไวพจน์

 

คำพ้อง

 

ชัฏ, ดง, พง, พงพนา, พงพี, พงไพร, พนัส, พนา, พนาดร, พนาลี, พนาวัน, อรัญญิก, อารัญ, อารัณย์, เถื่อน, ไพร, ไพรวัน, ไพรสัณฑ์

 

คำพ้อง

 

คคนางค์, คคนานต์, ทิฆัมพร, นภดล, นภา, นภาลัย, หาว, อัมพร, อากาศ, เวหา, เวหาศ, โพยม

 

 

คีรี, นคะ, นคินทร์, บรรพต, พนม, ภู, ภูผา, ศิขริน, ศิงขร, สิงขร, ไศล

 

 

ดุรงค์, พาชี, มโนมัย, สินธพ, อัศว, อัศวะ, อัสดร, อาชา, แสะ

 

 

ทวิช, ทวิชาชาติ, ทิชากร, ทิชาชาติ, บุหรง, ปักษา, ปักษิณ, ปักษี, วิหค, สกุณ, สกุณา, สกุณี, สุโนก

 

คำพ้อง

 

บุปผชาติ, บุปผา, บุษบง, บุษบัน, บุษบา, บุหงา, ผกา, ผกามาศ, มาลา, มาลี, สุคันธชาติ, สุมาลี, โกสุม

 

คำพ้อง

 

คงคา, ชลธาร, ชลธี, ชลาลัย, ชลาศัย, ชโลทร, นที, รัตนากร, สมุทร, สาคร, สาคเรศ, สินธุ, สินธุ์, อรรณพ

 

คำพ้อง

 

เป็นอย่างไรบ้างคะน้อง ๆ หลังจากที่ได้เรียนรู้เรื่องคำพ้องไปแล้ว คำพ้องมีความสำคัญมาก เพราะถ้าเราใช้ผิด ความหมายก็จะผิดไปเลย ดังนั้น น้อง ๆ ต้องหมั่นทบทวนเพื่อไม่ให้จำสลับกันนะคะ สุดท้ายนี้อย่าลืมไปรับชมและรับฟังคลิปการสอนของครูอุ้มระหว่างทบทวนเนื้อหา เพื่อพิชิตทุกโจทย์ในข้อสอบ ไปดูกันเลยค่ะ

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

ป6ทบทวน Past simple tense

ทบทวนการใช้ Past Simple ทั้งกับประโยคบอกเล่า/คำถาม/ปฏิเสธ

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.6 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไป ทบทวนการใช้ Past Simple ทั้งกับประโยคบอกเล่า/คำถาม/ปฏิเสธ กันน๊า Let’s go! ไปลุยกันเลยจ้า Past Simple Tense คืออะไร     Past Simple Tense คือโครงสร้างที่ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วจบลงไปแล้วในอดีต สิ่งสำคัญที่นักเรียนต้องรู้คือ กริยาช่องที่สองที่บอกความเป็นอดีต คำบอกเวลาในอดีตและโครงสร้างประโยคที่สำคัญๆ นั่นเอง

นิราศภูเขาทอง ประวัติความเป็นมาของวรรณคดีที่แต่งโดยสุนทรภู่

นิราศภูเขาทอง   เชื่อว่าน้อง ๆ หลายคนคงจะเคยได้ยินเรื่องนิราศภูเขาทองผ่านหูกันมาบ้างไม่มากก็น้อย แต่น้อง ๆ ทราบหรือเปล่าคะว่านิราศภูเขาทองคืออะไร และมีที่มาอย่างไร ก่อนอื่นมาดูความหมายของนิราศกันก่อนนะคะ นิราศ คือวรรณคดีที่แต่งขึ้นเพื่อเล่าถึงการเดินจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง โดยระหว่างการเดินทาง กวีก็จะนำสิ่งต่าง ๆ ที่ได้พบเห็น ไม่ว่าจะเป็นธรรมชาติ วิวทิวทัศน์หรือความเป็นอยู่ของผู้คนมาพรรณนา   หลังจากเข้าใจความหมายของนิราศแล้วก็ไปเริ่มเรียนรู้ประวัติความเป็นมาและเรื่องย่อของนิราศภูเขาทอง หนึ่งในกลอนนิราศที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดีที่สุดของสุนทรภู่กันเลยค่ะ   ประวัติความเป็นมา   สุนทรภู่แต่งนิราศภูเขาทองขึ้นมาในสมัยรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่เจ้าหัว

อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน

อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้หลักการเขียนอัตราส่วนแทนการเปรียบเทียบปริมาณของสิ่งต่างๆที่มากกว่า 2 สิ่งขึ้นไปได้ โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วนของจํานวนหลายๆจํานวนในการแก้ปัญหาหรือสถานการณ์ต่าง ๆได้

like_dislike + การเขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง

การเขียนบรรยายความรู้สึกของตนเอง like/dislike + การเขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง การเขียนบรรยายความรู้สึกของตนเอง like/dislike + การเขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง หากพร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลดเด้อ Let’s go! ถาม-ตอบก่อนเรียน หากมีคนถามว่า What do you like doing? หรือ What do you dislike doing? (คุณชอบหรือไม่ชอบทำอะไร) นักเรียนสามารถแต่งประโยคเพื่อตอบคำถาม

ค่าสัมบูรณ์

ค่าสัมบูรณ์

ค่าสัมบูรณ์ ค่าสัมบูรณ์  หรือ Absolute คือค่าของระยะทางจากศูนย์ไปยังจุดที่เราสนใจ เช่น ระยะทางจากจุด 0 ถึง -5 มีระยะห่างเท่ากับ 5 เนื่องจากค่าสัมบูรณ์เอาไว้บอกระยะห่าง ดังนั้นค่าสัมบูรณ์จะมีค่าเป็นบวกหรือศูนย์เท่านั้น ไม่สามารถเป็นลบได้ นิยามของค่าสัมบูรณ์ ให้ a เป็นจำนวนจริงใดๆ จะได้ว่า และ   น้องๆอาจจะงงๆใช่ไหมคะ ลองมาดูตัวอย่างสักนิดนึงดีกว่าค่ะ เช่น เพราะ

NokAcademy_ ม6Passive Modals

มารู้จักกับ Passive Modals

สวัสดีค่านักเรียนชั้นม.6 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปดู ” Passive Modals” ที่ใช้บ่อยพร้อม เทคนิคการจำและนำไปใช้ และทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน กันค่า Let’s go! ไปลุยกันโลดเด้อ   Passive Modals คืออะไรเอ่ย   Passive Modals คือ กลุ่มของ Modal verbs ที่ใช้ในโครงสร้าง

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1