สุภาษิตสอนหญิง ข้อคิดเตือนใจหญิงจากยุคสู่ยุค

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

สุภาษิต คือถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวสืบกันมาตั้งแต่อดีต มีความหมายเป็นคติสอนใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการดำเนินชีวิต ทั้งทางความคิด การพูด และการกระทำ มีสุภาษิตมากมายที่สอนถึงการปฏิบัติตัวของผู้หญิงให้ถูกต้องเหมาะสม บทเรียนในวันนี้ น้อง ๆ จะได้เรียนรู้เรื่อง สุภาษิตสอนหญิง เป็นหนึ่งในบทเรียนเรื่องสุภาษิตที่มีความสำคัญและมีคุณค่าอย่างมาก จะเป็นอย่างไรบ้างนั้นเราจะดูพร้อมกันเลยค่ะ

 

สุภาษิตสอนหญิง : ความเป็นมา

 

สุภาษิตสอนหญิง

 

สุภาษิตสอนหญิง เป็นวรรณกรรมคำสอนประเภทกลอนสุภาพ แต่งโดยสุนทรภู่ ประมาณปี พ.ศ. 2380-2383 มีความยาว 402 คำกลอน จุดประสงค์คือแต่งเพื่อขายเลี้ยงชีพ เป็นสุภาษิตสำหรับผู้หญิงทั่วไป ไม่ได้เจาะจงเป็นพิเศษว่าแต่งให้ใคร

 

เนื้อหาในสุภาษิตสอนหญิง

 

เริ่มบทประพันธ์ด้วยการกล่าวบูชาพระพุทธเจ้าเพื่อเป็นสิริมงคลตามธรรมเนียมของการแต่งหนังสือ ดังนี้

 

สุภาษิตสอนหญิง

 

จากนั้นเริ่มคำสอนด้วยการให้ข้อคิดเตือนใจและหลักการประพฤติตนแก่ผู้หญิงในเรื่องต่าง ๆ ตามประเพณีไทย มีทั้งข้อห้ามและข้อควรปฏิบัติทั้งในเรื่องของการวางตัว กิริยามารยาท การพูดจา การแต่งกาย การเลือกคู่ครอง การปรนนิบัติสามี ความซื่อสัตย์ต่อสามี การดูแลรักษาบ้านเรือน ความมัธยัสถ์ ต่อจากนั้นสุนทรภู่ยังกล่าวถึงลักษณะที่ไม่ดีของผู้หญิง เช่น ละทิ้งพ่อแม่ ชอบแต่งตัว ติดการพนัน สูบฝิ่น กินเหล้า หญิงสองใจ เป็นต้น สอนให้รักนวลสงวนตัว อย่าชิงสุกก่อนห่าม และยังสอนให้มีวิชาความรู้ติดตัว อย่าขี้โกง และให้เจียมตัวอยู่เสมอ ถ้าทำตามได้ชีวิตก็จะเป็นสุข

 

ตัวอย่างคำสอนในสุภาษิตสอนหญิง

 

สุภาษิตสอนหญิง

 

หมายถึง เกิดมาเป็นผู้หญิงต้องรู้จักรักและสงวนร่างกายตัวเองตามประเพณีอันดีงามจึงจะไม่ถูกนินทาว่าร้าย

 

สุภาษิตสอนหญิง

 

หมายถึง ผู้หญิงควรมีกิริยามารยาทงดงาม ขณะเดินก็ต้องเดินช้า ๆ ค่อย ๆ ก้าว ไม่เดินแกว่งแขนแรง ๆ ควรเดินอย่างสงวนท่าที

 

 

หมายถึง ให้รู้จักเก็บออม มีน้อยก็ค่อย ๆ เก็บไปทีละนิด ซื้อแต่ของที่จำเป็น ที่ราคาไม่แพงมากจนเกินกำลังซื้อ อย่าใช้จ่ายมากเพราะจะทำให้ลำบากในภายหลัง

 

 

หมายถึง เราควรจะเลี้ยงดูพ่อแม่เมื่อถึงยามที่พวกท่านแก่ชราลงจนไม่ได้สามารถดูแลตัวเองได้ เพราะพ่อแม่นั้นมีบุญคุณ เลี้ยงดูเรามาจนเติบโต คอยอุ้ม คอยป้อนข้าวเรามานับครั้งไม่ถ้วน ก็เพราะหวังว่าในอนาคตจะสามารถพึ่งพาลูก ๆ ได้

 

สุภาษิตสอนหญิงเป็นต้นแบบวรรณคดีอันทรงคุณค่าที่จะช่วยเตือนสติผู้หญิงในสังคมให้ประพฤติตัวดีงาม ซึ่งถึงแม้จะมีข้อควรปฏิบัติและข้อห้ามมากมาย แต่สุดท้ายแล้วหากเราปฏิบัติตามได้ก็จะเกิดผลดีกับตัวเราเองทั้งนั้น หลังจากที่บทเรียนนี้เราได้เรียนเรื่องความเป็นมาและเนื้อหาโดยย่อกันไปแล้ว บทเรียนต่อไปน้อง ๆ ก็ยังจะได้เรียนเรื่องสุภาษิตอยู่แต่เป็นในส่วนของคุณค่าและการทำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน แต่ก่อนจากกันน้อง ๆ อย่าลืมทบทวนบทเรียนนี้ได้ในคลิปการสอนย้อนหลังของครูอุ้มเพื่อฟังคำอธิบายความหมายของตัวบทที่ถูกยกตัวอย่างมากันด้วยนะคะ ไปชมกันเลย

 

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

แยกให้ออก บอกให้ถูกสำนวน สุภาษิต คำพังเพยแตกต่างกันอย่างไร?

บทนำ สวัสดีน้อง ๆ ที่น่ารักทุกคนกลับมาเข้าสู่เนื้อหาการเรียนภาษาไทยกันอีกเช่นเคย สำหรับวันนี้จะเป็นบทเรียนที่ทั้งสนุก มีสาระ และเป็นเนื้อหาที่เราต้องได้เจอบ่อย ๆ ในการเรียนภาษาไทยอย่างเรื่องสำนวน สุภาษิต และคำพังเพย น้อง ๆ อาจจะเคยได้ผ่านหูผ่านตากันมาบ้างเพราะเป็นบทเรียนที่ได้เริ่มเรียนตั้งแต่ช่วงประถมศึกษาแล้ว แต่วันนี้เราจะมาเรียนรู้ในเชิงลึกขึ้นไปอีกเกี่ยวกับวิธีการสังเกตระหว่างสำนวน สุภาษิต และคำพังเพยนั้นมีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร มีตัวอย่างประกอบให้ทุกคนได้ดูด้วย ถ้าน้อง ๆ คนไหนพร้อมแล้วก็ไปลุยกับเนื้อหาของวันนี้ได้เลย   สำนวน สำนวน

สำนวนไทยที่เราควรรู้ และตัวอย่างการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

น้อง ๆ เคยเป็นกันหรือเปล่าคะ เวลาที่อยากจะพูดอะไรสักอย่างแต่มันช่างยาวเหลือเกิน กว่าจะพูดออกมาหมดนอกจากคนฟังจะเบื่อแล้วยังอาจทำให้เขาไม่สนใจคำพูดของเราเลยก็เป็นไปได้ เพราะอย่างนั้นแหละค่ะในภาษาไทยของเราจึงต้องมีสิ่งที่เรียกว่าสำนวนขึ้นมาเพื่อใช้บอกเล่าเรื่องราวที่ถูกกลั่นกรองออกมาจนได้คำที่สละสลวย รวมใจความยาว ๆ ให้สั้นลง ทำให้เราไม่ต้องพูดอะไรให้ยืดยาวอีกต่อไป บทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปทบทวนความรู้เรื่อง สำนวนไทย รวมถึงตัวอย่างสำนวนน่ารู้ในชีวิตประจำวันเพิ่มเติมด้วยค่ะ จะมีอะไรบ้างนั้น ไปดูกันเลย   ความหมายและลักษณะของ สำนวนไทย   สำนวน หมายถึง ถ้อยคำหรือสำนวนพูดหรือเขียนที่มีความหมายไม่ตรงกับรากศัพท์หรือตรงไปตรงมาตามพจนานุกรม แต่เป็นถ้อยคำที่มีความหมายเป็นอย่างอื่น

ความน่าเชื่อถือของสื่อที่ฟัง

ฟังอย่างไรให้ได้สาระประโยชน์ดี ๆ ด้วยวิธีวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากสื่อที่ฟัง

บทนำ สวัสดีน้อง ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าสู่เนื้อหาในบทเรียนภาษาไทยกันอีกครั้ง สำหรับบทเรียนในวันนี้ต้องบอกว่ามีประโยชน์มาก ๆ และเราควรจะต้องศึกษาไว้เพื่อนำไปใช้ในการฟัง หรือคัดกรองสิ่งต่าง ๆ รอบตัวที่เรารับฟังมาให้มากขึ้น ซึ่งเราจะพาน้อง ๆ มาฝึกฝนการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากสื่อที่ฟังกัน เพราะในปัจจุบันเราสามารถรับสารได้หลากหลายรูปแบบมีทั้งประโยชน์ และโทษ ดังนั้น เราจึงต้องมีทักษะนี้ติดตัวไว้แยกแยะว่าสื่อนั้นมีความน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้วเรามาเริ่มเรียนกันเลย   ความหมายของความน่าเชื่อถือ และสื่อ ความน่าเชื่อถือ หมายถึง

ดีเทอร์มิแนนต์

ดีเทอร์มิแนนต์ ดีเทอร์มิแนนต์ (Determinant) คือ ค่าของตัวเลขที่สอดคล้องกับเมทริกซ์จัตุรัส ถ้า A เป็นเมทริกซ์จัตุรัส จะเขียนแทนดีเทอร์มิแนนต์ของ A ด้วย det(A) หรือ โดยทั่วไปการหาค่าดีเทอร์มิแนนต์ที่เจอในข้อสอบจะไม่เกินเมทริกซ์ 3×3 เพราะถ้ามากกว่า 3 แล้ว จะเริ่มมีความยุ่งยาก **ค่าของดีเทอร์มิแนนต์จะเป็นจำนวนจริงและมีเพียงค่าเดียวเท่านั้นที่จะสอดคล้องกับเมทริกซ์จัตุรัส เช่น เมทริกซ์ B ก็จะมีค่าดีเทอร์มิแนนต์เพียงค่าเดียวเท่านั้น**  

เปรียบเทียบเศษส่วนและจำนวนคละฉบับเข้าใจง่ายและเห็นภาพ

บทความนี้จะพาน้องๆ มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการเปรียบเทียบเศษส่วนและจำนวนคละ  เนื่องจากหลักการที่ใช้ในการเปรียบเทียบเศษส่วนนี้จะนำไปต่อยอดกับเรื่องต่อไปเช่นเรื่องการบวกและการลบเศษส่วน หลังจากอ่านบทความนี้จบสิ่งที่จะได้รับก็คือ หลักการเปรียบเทียบเศษส่วน วิธีเปรียบเทียบที่เห็นภาพและเข้าใจง่ายร่วมถึงเทคนิคที่จะช่วยให้น้อง ๆ สามารถเปรียบเทียบเศษส่วนได้เร็วยิ่งขึ้น

ศึกษาตัวบทในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา

เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นวรรณคดีที่มีเค้าจากเรื่องจริงในสมัยอยุธยา จากนิทานชาวบ้านสู่วรรณคดีราชสำนักตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 ในตอน ขุนข้างถวายฎีกา เป็นหนึ่งในตอนที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งได้ดีที่สุด จากที่เราได้เรียนรู้ที่มาและเรื่องย่อกันไปแล้ว บทเรียนในนี้เราจะพาน้อง ๆ ไปศึกษาตัวบทเด่น ๆ ที่อยู่ในเรื่องนี้เพื่อถอดความกันค่ะ รวมไปถึงคุณค่าที่ซ่อนอยู่ในเรื่อง ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ   ตัวบทเด่น ๆ ที่น่าสนใจ   ตัวบทที่ 1     ถอดความ มาจากตอนที่จมื่นไวยบุกมาหานางวันทองผู้เป็นแม่ที่เรือนขุนช้างแล้วพยายามจะพานางกลับไปอยู่ด้วยกัน

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1