การวัดเวลา

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้ความเป็นมาของการวัดเวลาและหน่วยในการวัดเวลาที่มีความหลากหลาย
การวัดเวลา

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ในสมัยโบราณมนุษย์เห็นดวงอาทิตย์ขึ้นก็รู้ว่าวันใหม่เริ่มขึ้นแล้ว และการบอกเวลาว่าเป็นเช้า สาย บ่าย หรือเย็น ก็อาจดูจากความยาวของเงาที่เปลี่ยนไป ทำให้เกิดแนวคิดในการกำหนดเวลา หรือเรียกอีกอย่างว่าการวัดเวลา ขึ้นเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันและเป็นมาตรฐานร่วมกัน

การกำหนดเวลา

ในการกำหนดเวลามีข้อตกลงว่า 1 วันมี 24 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง มี 60 นาที และ 1 นาที มี 60 วินาที ที่มาของ 1 วัน คือ เวลาที่โลกหมุนรอบตัวเองครบ 1 รอบพอดี และ 1 ปีทางสุริยคติกำหนดว่าเป็นเวลาที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ครบ 1 รอบพอดี

ในสมัยแรกใช้ระบบปฏิทินจูเลียนซึ่งกำหนดว่า 1 ปีมี 365.25 วันปัจจุบันได้ปรับปรุงเป็นระบบปฏิทินเกรกอเรียน ซึ่งใช้กันแพร่หลาย

ในปัจจุบันกำหนดให้ 1 ปีมี 365.2425 วันโดยกำหนดว่าใน 1 ปีมี 365 วัน แต่ในปีอธิกสุรทินซึ่งเป็นปีที่เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วันในปีนั้น 1 ปีจะมี 366 วันการกำหนดปีอธิกสุรทินมีหลักดังนี้

1. ถ้าปี ค.ศ. ใดหารด้วย 4 ไม่ลงตัวจะไม่เป็นปีอธิกสุรทิน

2. ถ้าปี ค.ศ. ใดหารด้วย 4 และ 100 ลงตัว แต่หารด้วย 400 ไม่ลงตัวจะไม่เป็นปีอธิกสุรทิน

3. ถ้าปี ค.ศ. ใดหารด้วย 4 ลงตัว แต่หารด้วย 100 ไม่ลงตัวจะเป็นปีอธิกสุรทิน

4. ถ้าปี ค.ศ. ใดหารด้วย 4 ลงตัวและหารด้วย 400 ลงตัวจะเป็นปีอธิกสุรทิน

หน่วยเวลาที่ควรทราบ

หน่วยเวลา

ตัวอย่าง ตัวอย่างวิธีทำในเดือนเมษายน 2547 กรุงเทพมหานครมีอายุครบ 222 ปีอยากทราบว่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชประกาศสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ในปี พ.ศ. ใดและตรงกับปี ค.ศ. ใด

เวลา

ตัวอย่าง วิธีทำโรงเรียนแห่งหนึ่งประกาศเปิดเรียนประจำภาคเรียนที่ 1 ในวันที่ 16 พฤษภาคมและปิดภาคเรียนในวันที่ 30 กันยายนในปีเดียวกันถามว่าในภาคเรียนที่หนึ่งใช้เวลาในการเรียนการสอนนานกี่วัน (รวมวันเสาร์-อาทิตย์ ด้วย)

ตัวอย่างวัดเวลา

ตัวอย่าง ตั้งแต่วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ถึงวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2553 คิดเป็นเวลากี่ปี กี่เดือน และกี่วัน

วัดเวลาม.2

ตัวอย่าง ดารณีเกิดวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2542 นับจนถึงวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ดารณีมีอายุกี่ปี กี่เดือน และกี่วัน

ตัวอย่างการวัดเวลา

ตัวอย่าง แดงออกเดินทางจากบ้านที่จังหวัดอ่างทองเพื่อไปกรุงเทพฯ โดยนับเวลาตั้งแต่รถออกจากสถานีขนส่งที่ จ.อ่างทองเวลา 14.00 น. และถึงสถานีขนส่งหมอชิตใหม่เวลา 16.25 น. ตามเวลาแดงใช้เวลาอยู่บนรถนานเท่าไร

เวลาม.2

คลิปตัวอย่างเรื่องการวัดเวลา

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ ในบทความนี้จะกล่าวถึงฟังก์ชันที่เป็นส่วนกลับของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ และฟังก์ชันที่เกิดจากการดำเนินการของค่า cosθ sinθ ซึ่งก็คือ tanθ และ cotθ นอกจากนี้ยังจะกล่าวถึงโคฟังก์ชันของฟังก์ชันตรีโกณมิติอีกด้วย ในบทความนี้สิ่งที่น้องๆต้องรู้ก็คือ วิธีการหาค่า cosθ และ sinθ จตุภาคของพิกัดจุดปลายส่วนโค้ง ซึ่งสามารถอ่านได้ตามลิงค์ด้านล่างนี้เลยค่ะ การวัดความยาวส่วนโค้ง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ หลังจากที่น้องๆมีพื้นฐาน 2 เรื่องที่กล่าวมาแล้วเราจะเริ่มทำความรู้จักกับฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆกันค่ะ   ฟังก์ชันที่เป็นส่วนกลับของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์

ประโยคและวิธีการใช้ Would like กับ Wh-questions

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.5 ที่รักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดูตัวอย่างประโยคและวิธีการใช้ Would like กับ Wh-questions กันค่ะ ไปลุยกันเลย ตารางเปรียบเทียบประโยคก่อนเข้าสู่บทเรียน: คำถาม Wh-questions VS Yes-no Questions ประโยคคำถามแบบ Wh-question “what” ประโยคคำถามที่ใช้ would + Subject +like…

M4 Past Passive

Past Passive in English

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.4 ทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง Past Passive กันค่ะ ก่อนอื่นจะต้องไปรู้ความหมายกันก่อนน๊าว่ามันคืออะไร พร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลด   ความหมาย Past หมายถึง อดีต ส่วน Passive มาจาก Passive voice หมายถึง ประโยคที่ประธานถูกกระทำ รวมแล้วหมายถึงการใช้ Passive Voice

Preposition & Gerund เรื่องเล็กๆ ที่เจอบ๊อยบ่อย

สวัสดีน้องๆ ม. ปลายทุกคนโดยเฉพาะน้องๆ ม. 6 รุ่นโควิดนะครับ วันนี้เรามาทบทวนไวยากรณ์จุดเล็กๆ แต่สำคัญเอาเรื่องอยู่เหมือนกัน นั่นก็คือการใช้ Gerund ตามหลัง Preposition นั่นเอง ว่าแล้วก็เริ่มกันเลยดีกว่าครับ!

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1