ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ข้อสอบO-Net

ข้อสอบO-Net ในบทความนี้จะคัดเฉพาะเรื่องจำนวนจริงมาให้น้องๆทุกคนได้ดูว่าที่ผ่านมาแต่ละปีข้อสอบเรื่องจำนวนจริงออกแนวไหนบ้าง โดยบทความนี้พี่ได้นำข้อสอบย้อนหลังของปี 49 ถึงปี 52 มาให้น้องๆได้ดูพร้อมเฉลยอย่างละเอียด เมื่อน้องๆได้ศึกษาโจทย์ทั้งหมดและลองฝึกทำด้วยตัวเองแล้ว น้องๆจะสามารถทำข้อสอบทั้งของในโรงเรียนและข้อสอบO-Net ได้แน่นอนค่ะ

ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 49

 

1. (\sqrt{2}+\sqrt{8}+\sqrt{18}+\sqrt{32})^{2}  มีค่าเท่ากับข้อในต่อไปนี้

  1.     60
  2.     60\sqrt{2}
  3.     100\sqrt{2}
  4.     200

คำตอบ  4

ข้อสอบO-Net

2. \frac{\sqrt[5]{-32}}{\sqrt[3]{27}}+\frac{2^{6}}{(64)^{\frac{3}{2}}}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     -\frac{13}{24}
  2.     -\frac{5}{6}
  3.         \frac{2}{3}
  4.        \frac{19}{24}

คำตอบ  1

ข้อสอบO-Net

3. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ \sqrt{2}^{(x^{2})} = \frac{2^{(4x)}}{4^{4}}  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     2
  2.     3
  3.     4
  4.     5

คำตอบ 3

ข้อสอบO-Net

4.  กำหนดให้ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1.  ถ้า      a < b     แล้ว จะได้      a^{2}< b^{2}
  2.  ถ้า   a < b < 0   แล้ว จะได้      ab < a^{2}
  3.  ถ้า    a^{2}< b^{2}     แล้ว จะได้      a <  b
  4. ถ้า    \left | a \right |< \left | b \right |     แล้ว จะได้      a <  b

คำตอบ  2

ถ้าเจอโจทย์แบบนี้ให้ลองแทนตัวเลขที่ทำให้แต่ละผิด 

พิจารณาข้อ 1 สมมติให้ a = -3 และ b = 1 จะเห็นว่า -3 < 1 นั่นคือ a < b

เมื่อเรายกกำลังสองทั้ง a และ b จะได้ว่า a² = 9 และ b² = 1  จะเห็นว่า 1 < 9 นั่นคือ b² < a²

ดังนั้น ข้อ 1 ผิด

 

พิจารณาข้อ  3 กรณีที่ a = -1  b = -2  ทำให้ข้อความข้างต้นเป็นเท็จ เพราะเมื่อยกกำลังสอง a² < b² จริง แต่ a < b ไม่จริง

ดังนั้น ข้อ 3 ผิด

 

พิจารณา ข้อ 4 สมมติให้ a = 1 b = -2 จะเห็นว่า  \left | a \right |< \left | b \right |  จริง แต่ a < b นั้นไม่จริง

ดังนั้น ข้อ 4 ผิด

 

5.)  อสมการในข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง

  1.     2^{1000}< 3^{600}< 10^{300}
  2.     3^{600}< 2^{1000}< 10^{300}
  3.     3^{600}< 10^{300}< 2^{1000}
  4.     10^{300}< 2^{1000}< 3^{600}

คำตอบ  3

ทำให้เลขยกกำลังเท่ากัน

 

6.)  ถ้า 4^{a} = \sqrt{2}  และ 16^{-b} = \frac{1}{4}  แล้ว a + b มีค่าเท่ากับเท่าใด

ตอบ 0.75

ข้อสอบO-Net

ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 49

 

1.)  \left | \frac{1}{2}-\frac{1}{\sqrt{2}} \right |-\left | 2-\sqrt{2} \right |  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     \frac{3}{2}-\frac{\sqrt{2}}{2}
  2.     \frac{\sqrt{2}}{2}-\frac{3}{2}
  3.      \frac{5}{2}-\frac{3\sqrt{2}}{2}
  4.      \frac{3\sqrt{2}}{2}-\frac{5}{2}

คำตอบ 4

ข้อสอบO-Net

2.)  \frac{8^{\frac{2}{3}}}{\sqrt[4]{144}}\cdot \frac{(18)^{\frac{1}{2}}}{\sqrt{6}}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      \sqrt{\frac{2}{3}}
  2.     \sqrt{\frac{3}{2}}
  3.          2
  4.          3

คำตอบ  3

ข้อสอบO-Net

3.) (1-\sqrt{2})^{2}(2+\sqrt{8})^{2}(1+\sqrt{2})^{3}(2-\sqrt{8})^{3}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.  -32
  2.   -24
  3.   -32-16\sqrt{2}
  4.   -24-16\sqrt{2}

คำตอบ  1

ข้อสอบO-Net

4.)  ถ้า x ≤ 5 แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

 

  1.      x^{2} \leq 25
  2.      \left | x \right | \leq 5
  3.       x\left | x \right |\leq 25
  4.       (x-\left | x \right |)^{2}\leq 25

คำตอบ  1

5.)  ถ้า (3+\frac{3}{8})^{3x} = \frac{16}{81}  แล้ว x มีค่าาเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.       -\frac{4}{9}
  2.       -\frac{2}{9 }
  3.       -\frac{1}{9}
  4.           \frac{1}{9}

คำตอบ 1

ข้อสอบO-Net

6.)  ถ้า x = -\frac{1}{2} เป็นรากของสมการ ax^{2}+3x-1 = 0   แล้ว รากอีกรากหนึ่งของสมการนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      -5
  2.     -\frac{1}{5}
  3.         \frac{1}{5}
  4.         5

คำตอบ 3

7.)  เซตคำตอบของอสมการ     4^{(2x^{2}-4x-5)}\leq \frac{1}{32}    คือเซตในข้อใดต่อไปนี้

  1.   [-\frac{5}{2},\frac{5}{2}]
  2.   [-\frac{-5}{2},1]
  3.   [-\frac{1}{2},1]
  4.   [-\frac{1}{2},\frac{5}{2}]

คำตอบ 4

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 50

 

1.)  (\frac{\sqrt{5}}{\sqrt{6}}-\frac{\sqrt{2}}{\sqrt{15}})^{2}   มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      \frac{3}{10}
  2.      \frac{7}{10}
  3.      \sqrt{5}-2
  4.      \sqrt{6}-2

คำตอบ 1

2.)  ถ้า (\sqrt{\frac{8}{125}})^{4}=(\frac{16}{625})^{\frac{1}{x}}  แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.     \frac{3}{4}
  2.     \frac{2}{3}
  3.     \frac{3}2{}
  4.     \frac{4}{3}

คำตอบ 2

ข้อสอบO-Net

3.)  เซตคำตอบของอสมการ  -1\leq \sqrt{2}+\frac{x}{1-\sqrt{2}}\leq 1   คือเซตในข้อใดต่อไปนี้

 

  1.       [\sqrt{2}-1,1]
  2.       [\sqrt{2}-1,2]
  3.       [3-2\sqrt{2},1]
  4.       [3-2\sqrt{2} , 2]

คำตอบ 3

4.)  สมการในข้อใดต่อไปนี้ มีคำตอบที่เป็นจำนวนจริงมากกว่า 2 คำตอบ

 

  1.     (x-2)^2+1=0
  2.     (x^2+2)(x^2-1)=0
  3.     (x-1)^2(x^2+2)=0
  4.     (x^2-1)(x+2)^2=0

คำตอบ 4

5.)  ผลบวกของคำตอบทุกคำตอบของสมการ  x^{3}-2x = \left | x \right |   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.     0
  2.    \sqrt{3}
  3.    \sqrt{3}-1
  4.    \sqrt{3}+1

คำตอบ 1

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 51

 

1.)  ค่าของ  \sqrt{(-2)^2}+(\frac{8^{\frac{1}{2}}+2\sqrt{2}}{\sqrt{32}})   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     -1
  2.      1
  3.      3
  4.      5

คำตอบ 3

ข้อสอบO-Net

2.)   กำหนดให้ค่าประมาณที่ถูกต้องถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3 ของ \sqrt{3}  และ \sqrt{5} คือ  1.732  และ 2.236 ตามลำดับ

พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก.    2.235+1.731\leq \sqrt{5}+\sqrt{3}\leq 2.237+1.733

ข.    2.235-1.731\leq \sqrt{5}-\sqrt{3}\leq 2.237-1.733

ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1.   ถูกทั้ง 2 ข้อ
  2.   ก ถูก  ข ผิด
  3.   ก ผิด  ข ถูก
  4.   ผิดทั้ง 2 ข้อ

คำตอบ 1

4.)  พืจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. สมบัติการมีอินเวอร์สการบวกของจำนวนจริงกล่าวว่า

สำหรับจำนวนจริง a จะมีจำนวนจริง b ที่ b + a = 0 = a + b

ข. สมบัติการมีอินเวอร์สการคูณของจำนวนจริง กล่าวว่า

สำหรับจำนวนจริง a จะมีจำนวนจริง b ที่ ba = 1 = ab

ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1. ถูกทั้ง 2 ข้อ
  2. ก  ถูก ข ผิด
  3. ก  ผิด ข ถูก
  4. ผิดทั้ง 2 ข้อ

คำตอบ 1 

ก.จริง เพราะ ยกตัวอย่าง a = 1 ตัวที่บวกกับ 1 แล้วได้ 0 คือ -1 นั่นคือ -1 เป็นอินเวอร์การบวกของ 1 

ข. จริง เพราะ สมมติให้ a = 2 ตัวที่คูณกับ 2 แล้วได้ 1 คือ \frac{1}{2}  นั่นคือ \frac{1}{2} เป็นอินเวอร์สการคูณของ 2 

จึงสรุปได้ว่า ก และ ข ถูก

**คำว่า “มี” แปลว่าอาจจะมีแค่ตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได้ ถ้าเรายกตัวอย่างมาได้สัก 1 ตัวอย่างที่เป็นจริงก็ถือว่า ข้อความนั้นเป็นจริง**

แต่ต้องระวัง ถ้าเจอคำว่า”ทุกๆ” หรือตำว่า “แต่ละตัว” การที่เราจะบอกว่าทุกตัวมันจริงคงไม่ไหวเพราะมันอาจจะมีจำนวนมาก ดังนั้นน้องๆควรยกตัวอย่างมาค้านว่าข้อความนั้นเป็นเท็จจะง่ายกว่า 

 

5.)   พิจารณาสมการ \left | x-7 \right |=6  ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ

  1. คำตอบหนึ่งของสมการมีค่าระหว่าง 10 และ 15
  2. ผลบวกของคำตอบทั้งหมดของสมการมีค่าเท่ากับ 14
  3. สมการนี้มีคำตอบมากกว่า 2 คำตอบ
  4. ใบบรรดาคำตอบทั้งหมดของสมการ คำตอบที่มีค่าน้อยที่สุดมีค่าน้อยกว่า 3

คำตอบ 3

 

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 52

 

1.)  พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. จำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบบางจำนวนเป็นจำนวนอตรรกยะ

ข. จำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบบางจำนวนเป็นจำนวนตรรกยะ

ข้อใดถูกต้อง

  1. ก  และ ข
  2. ก เท่านั้น
  3. ข เท่านั้น
  4. ก และ ข ผิด

คำตอบ 2 

ก. จากที่เรารู้อยู่แล้วว่าทศนิยมไม่รู้จบเป็นจำนวนอตรรกยะ ข้อความนี้จึงถูกต้อง

ข. ผิด เพราะจำนวนตรรกยะคือจำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มได้ แต่ทศนิยมไม่รู้จบไม่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มได้ ดังนั้นจึงไม่มีจำนวนตรรกยะใดที่เป็นจำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบ

 

2.)  ผลเฉลยของสมการ 2\left | 5-x \right |=1  อยู่ในช่วงใด

  1.   (-10, -5)
  2.   (-6, -4)
  3.   (-4, 5)
  4.   (-3, 6)

คำตอบ 4

3.)  ถ้า \frac{3}{4} เป็นผลเฉลยหนึ่งของสมการ 4x^2+bx-6 = 0  เมื่อ b เป็นจำนวนจริงแล้ว อีกผลเฉลยหนึ่งของสมการนี้มีค่าตรงกับข้อใด

  1.   -2
  2.   -\frac{1}{2}
  3.     \frac{1}{2}
  4.    2

คำตอบ  1

4.)  ข้อใดมีค่าต่างจากข้ออื่น

  1.    (-1)^0
  2.    (-1)^{0.2}
  3.    (-1)^{0.4}
  4.    (-1)^{0.8}

คำตอบ 2

5.)  ( \left | 4\sqrt{3}-5\sqrt{2} \right | -\left | 3\sqrt{5}-5\sqrt{2} \right |+\left | 4\sqrt{3}-3\sqrt{5} \right |)^2   เท่ากับข้อใด

  1.    0
  2.    180
  3.    192
  4.    200

คำตอบ 1

วิดีโอ ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง

 

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

ประพจน์และการเชื่อมประพจน์

บทความนี้เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับประพจน์ การเชื่อมประพจน์ และการหาค่าความจริง ซึ่งเนื้อหาเหล่านี้เป็นภาษาของคณิตศาสตร์ เราจะเห็นตัวเชื่อมประพจน์ในทฤษฎีบทต่างๆในคณิตศาสตร์ หลังจากอ่านบทความนี้ น้องๆจะสามารถบอกได้ว่าข้อความไหนเป็นหรือไม่เป็นประพจน์ และน้องๆจะสามารถทำข้อสอบเกี่ยวกับตรรกศาสตร์ได้

ฟังก์ชันลอการิทึม

ฟังก์ชันลอการิทึม ฟังก์ชันลอการิทึม คือฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล จากที่ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลคือ คู่อันดับ (x, y) ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ที่ส่งจากจำนวนจริงไปยังจำนวนจริงบวก โดยที่ ดังนั้นฟังก์ชันดังกล่าวซึ่งเป็นฟังก์ชันผกผันของเอกซ์โพเนนเชียล ก็คือ คู่อันดับ (y, x)  หรืออาจจะบอกได้อีกแบบคือ คู่อันดับ (x, y) ซึ่งเป็นความสัมพันธ์จากจำนวนจริงบวกไปยังจำนวนจริง โดยที่ จัดรูปใหม่ ได้เป็น (อ่านว่าล็อก x ฐาน

หลักการเบื้องต้นของอัตราส่วน

หลักการเบื้องต้นของอัตราส่วน

“อัตราส่วน คือ ปริมาณ อย่างหนึ่งที่แสดงถึง จำนวน หรือ ขนาด ตามสัดส่วนเมื่อเปรียบเทียบกับอีก ปริมาณ หนึ่งที่เกี่ยวข้องกัน ที่อาจมีได้ตั้งแต่สองปริมาณขึ้นไป”

Profile_imperative sentence

การใช้ประโยคคำสั่ง หรือ Imperative sentence ในชีวิตประจำวัน

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปเรียนรู้เกี่ยวกับ การใช้ประโยคคำสั่ง หรือ Imperative sentence ในชีวิตประจำวัน กันนะคะ ซึ่งเราจะเจอประโยคเหล่านี้ตั้งแต่ตื่นนอน ทานข้าว เดินไปโรงเรียน ไปดูหนัง ข้ามถนน ข้ามสะพาน ขึ้นแท็กซี่ และในกิจกรรมอื่นๆอีกมากมาย หากว่าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย รูปแบบและโครงสร้างประโยคคำสั่ง Imperative sentence     คือประโยคที่เจอบ่อยเมื่อต้องพูด ให้คำคำปรึกษา

บทเสภาสามัคคีเสวก

บทเสภาสามัคคีเสวก ที่มาของกลอนเสภาอันทรงคุณค่า

บทเสภาสามัคคีเสวก   เมื่อเห็น บทเสภาสามัคคีเสวก ครั้งแรก เชื่อว่าต้องมีน้อง ๆ หลายคนต้องเผลออ่านคำว่า เสวก เป็น (สะ-เหวก) แน่ ๆ เลยใช่ไหมคะ แต่ที่จริงแล้วคำว่าเสวกนั้นต้องอ่านให้ถูกต้องว่า (เส-วก) ที่มีความหมายถึงผู้ใกล้ชิด เป็นยศของข้าราชการในราชสำนักนั่นเองค่ะ บทเรียนภาษาไทยในวันนี้ไม่เพียงแต่จะสอนอ่านให้ถูกต้อง แต่จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของเรื่องย่อวรรณคดีไทยอย่างบทเสภาสามัคคีเสวกกันอีกด้วย โดยจะเป็นเรื่องราวแบบไหน มีลักษณะคำประพันธ์และเรื่องย่ออย่างไรบ้าง เราไปศึกษาเรื่องนี้พร้อม

นิทานเวตาล เรื่องเล่าที่สอดแทรกคติธรรมไว้มากมาย

นิทานเวตาล เป็นวรรณคดีอินเดียโบราณที่มีประวัติความเป็นมายาวนานนับพันปี มีเนื้อหาที่บันเทิงแต่ก็สอดแทรกปริศนาธรรมและคติธรรมคำสอนไว้เพื่อเป็นเครื่องกล่อมเกลาจิตใจมนุษย์ บทเรียนในวันนี้เราจะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาและเรื่องย่อจากวรรณคดีเรื่องนี้กันค่ะว่าจะมีความน่าสนใจอย่างไรบ้าง ถ้าพร้อมแล้ว ไปเรียนรู้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   ความเป็นมาของนิทานเวตาล     นิทานเวตาล หรือ เวตาลปัญจวิงศติ เป็นวรรณกรรมอินเดียโบราณ กวีคนแรกที่เป็นคนแต่งคือ ศิวทาส เมื่อ 2.500 ปี ต่อมาโสมเทวะ กวีชาวแคว้นกัษมีระได้นํามา

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1