โจทย์ปัญหาการหารทศนิยม

บทความนี้เป็นเรื่องการวิเคราห์โจทย์ปัญหาการหารทศนิยม ซึ่งโจทย์ที่นำมาเป็นตัวอย่างจะประกอบด้วยการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา การเขียนประโยคสัญลักษณ์ รวมไปถึงการสดงวิธีทำ หวังว่าน้องๆจะสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ได้จริงกับโจทย์ปัญหาในห้องเรียน

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

เมื่อเราได้ทำความเข้าใจและเรียนรู้เนื้อหาของหลักการหารทศนิยมแล้วเรื่องต่อไปก็จะเป็นการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการหารทศนิยม เพราะจะได้นำเอาหลักการหารทศนิยมมาให้ในการแก้โจทย์ปัญหา ซึ่งโดยส่วนใหญ่โจทย์ปัญหาที่นำมาก็จะเป็นการยกตัวอย่างเหตุการณ์ในชีวิตจริง เช่นการหาค่าเฉลี่ย การแบ่งเงิน และการชั่ง ตวงและการวัด เป็นต้น

ตัวอย่างโจทย์ปัญหาการหารทศนิยม

ตัวอย่างที่ 1 

ข้อสอบคณิตศาสตร์ 60 ข้อ กำหนดเวลาทำข้อสอบ 100 นาที ด.ช.วิน ทำเสร็จภายในเวลา 90 นาที ด.ช.วิน ทำข้อสอบเฉลี่ยข้อละกี่นาที

วิเคราะห์โจทย์: โจทย์ต้องการทราบค่าเฉลี่ยของเวลาในการทำข้อสอบ ดังนั้นต้องนำ 90 ไปแบ่งให้ 60 ข้อ เท่าๆกัน คือหลักการหารทศนิยม

ประโยคสัญลักษณ์: 90 ÷ 60  = _______________

การหารทศนิยม

ตัวอย่างที่ 2

พี่หญิงมีน้ำผลไม้อยู่ 3 ลิตร แบ่งให้น้อง 7 คน เท่าๆกัน น้องแต่ละคนจะได้รับน้ำผลไม้คนละกี่มิลลิลิตร (ตอบเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง)

วิเคราะห์โจทย์: โจทย์กำหนดว่าให้แบ่งน้ำผลไม้ให้เท่าๆกัน ตรงกับหลักการหาร และหน่วยที่ต้องการทราบคือหน่วยมิลลิลิตร ดังนั้นต้องแปลงหน่วยที่โจทย์ให้มา จากลิตรเป็นมิลลิลิตรก่อนจึงจะนำไปแบ่งให้ท่าๆกันได้

ประโยคสัญลักษณ์: (3 x 1,000) ÷ 7  = _______________

โจทย์การหารทศนิยม

ตัวอย่างที่ 3

วันที่ 21 กันยายน 2563 เงิน 1 ดอลล่าร์สหรัฐ(USD) แลกเป็นเงินไทยได้ประมาณ 31 บาท วินัยนำเงิน 32,500  บาท แลกเป็นเงิน ดอลล่าร์สหรัฐได้ประมาณกี่ดอลลาร์ (ตอบเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง)

วิเคราะห์โจทย์: ต้องนำเงินไทยแลกทีละ 31.09 บาท ถึงจะได้เป็นเงิน 1 ดอลลาร์ ดังนั้นต้องแบ่งออกทีละเท่าๆกัน คือหลักการหาร

ประโยคสัญลักษณ์: 32,500 ÷ 31  = _______________

การหารทศนิยม

ตัวอย่างที่ 4

เสือเดินป่าจากจุดเริ่มต้นถึงจุดพักเป็นระยะทาง 6.5 กิโลเมตร จากนั้นดินต่ออีก 700 เมตร จนถึงน้ำตก ใช้เวลาเดินป่าจากจุดเริ่มต้นถึงน้ำตก 3 ชั่วโมง เสือใช้เวลาเดินป่าเฉลี่ยชั่วโมงละกี่กิโลเมตร

วิเคราะห์โจทย์: โจทย์ต้องการทราบค่าเฉลี่ยของเวลาในการเดินป่าของเสือ ดังนั้นต้องนำระยะทางทั้งหมด (แต่ต้องทำหน่วยให้เหมือนกันก่อนจึงจะสามารถนำไปแบ่งได้) ไปแบ่งให้วลา 3 ชั่วโมง เท่าๆกัน คือหลักการหาร 

ประโยคสัญลักษณ์: [6.5 + ( 700 ÷ 1,000 )] ÷ 3  = _______________

การหารทศนิยม

คลิปตัวอย่างเรื่องโจทย์ปัญหาการหารทศนิยม

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

เรียนรู้ความเหมือนที่แตกต่างของคำพ้อง

  น้อง ๆ หลายคนคงจะเคยเห็นฝาแฝดกันมาบ้างใช่ไหมคะ แล้วรู้หรือเปล่าคะว่าในภาษาไทยเรานั้นก็มีฝาแฝดเหมือนกัน แต่ฝาแฝดนั้นถูกเรียกว่า คำพ้อง นั่นเองค่ะ หลายคำในภาษาไทยมีจุดที่เหมือนกันแต่ก็มีส่วนที่ต่างกันออกไปด้วย เพื่อไม่ให้สับสนว่าคำไหนคือคำไหน อ่านอย่างไร หมายความว่าอะไรกันแน่ วันนี้เราไปเรียนรู้เรื่องคำพ้องพร้อม ๆ กันเลยค่ะ   คำพ้อง   ความหมายของคำพ้อง     ประเภทของคำพ้อง     คำพ้องเสียง

การใช้สำนวนภาษาเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ร่วมกับ Wh-questions ที่ใช้ใน Past Simple Tense + Future Simple Tense

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.2 ทุกคน วันนี้ครูจะพาไปตะลุยการใช้สำนวนภาษาเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ร่วมกับ Wh-questions ที่ใช้ใน Past Simple tense + Future Simple tense  หากพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจร้า   Wh-Questions คืออะไร      เมื่อต้องถามคำถามอะไรก็ตามที่ไม่ต้องการคำตอบ Yes หรือ No แบบตรงประเด็น เราจะเรียกคำถามประเภทนี้ว่า

M3 Past Passive

Past Passive คืออะไร

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.3 ทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง Past Passive กันค่ะ ก่อนอื่นจะต้องไปรู้ความหมายกันก่อนน๊าว่ามันคืออะไร พร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลด   Past Passive คืออะไร   Past หมายถึง อดีต ส่วน Passive มาจากโครงสร้างของ Passive voice (ประโยคที่ประธานถูกกระทำ เน้นกรรม) เมื่อนำมารวมกันแล้วPast

กราฟแสดงคำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

บทความนี้ได้แนะนำการเขียน กราฟแสดงคำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  ซึ่งจะเชื่อมโยงกับสัญลักษณ์ของอสมการทั้ง 5 สัญลักษณ์ คือ มากกว่า (>), น้อยกว่า (<), มากกว่าหรือเท่ากับ (≥), น้อยกว่าหรือเท่ากับ (≤) และ ไม่ท่ากับ(≠) โดยเขียนแสดงบนเส้นจำนวน จุดทึบและจุดโปร่ง เราจะเลือกใช้จุดทึบ (•) และจุดโปร่ง (°) แทนสัญลักษณ์อสมการ ดังนี้ มากกว่า

รากที่สาม

รากที่สาม

ในบทตวามนี้เราจะได้เรียนรู้การหารากที่สามของจำนวนจริงใดๆ ซึ่งทำได้หลายวิธีเช่นเดียวกับการหารากที่สอง อาจใช้การแยกตัวประกอบ การประมาณ การเปิดตาราง และการใช้เครื่องคำนวณ แต่เนื่องจากการประมาณเป็นวิธีที่ยุ่งยาก ในที่นี้จึงจะกล่าวเฉพาะการหารากที่สามโดยการแยกตัวประกอบ การเปิดตาราง และการใช้เครื่องคำนวณ

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1