ตัวอย่างโจทย์ปัญหา + – × ÷ ระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

บทความนี้จะยกตัวอย่างของโจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละพร้อมทั้งวิธีวิเคราะห์โจทย์ การแก้โจทย์ปัญหาและหาคำตอบออกมาได้อย่างสมเหตุสมผล หลังจากอ่านบทความนี้จบน้อง ๆ จะสามารถทำความเข้าใจกับโจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละและแก้โจทย์ได้ดียิ่งขึ้น

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ตัวอย่างโจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

 

ตัวอย่างที่ 1

คุณยายมีถั่วเขียว 3 เข่ง หนัก  20\tfrac{1}{2}  , 25\tfrac{1}{3}  , 23\tfrac{1}{2}  กิโลกรัม ตามลำดับ นำถั่วเขียวทั้งหมดมารวมกัน แล้วจากนั้นนำไปแบ่งให้หลาน 3 คนเท่า ๆกัน หลานจะได้ถั่วเขียวคนละกี่กิโลกรัม

วิเคราะห์โจทย์ จากโจทย์ให้นำถั่วเขียวทั้ง 3 เข่ง มารวมกัน นั่นคือการบวก จากนั้นนำถั่วเขียวทั้งหมดแบ่งให้ลาน 3 คน เท่า ๆ กัน นั่นคือการหาร

 

โจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

 

ตัวอย่างที่ 2

ร้ายขายขนมเค้กแห่งหนึ่ง วันนี้ขายขนมเค้กทั้งหมด 420 ก้อน เป็นคัพเค้กได้ \frac{3}{10} ของขนมเค้กทั้งหมด ขายชีสเค้กได้  \frac{7}{12} ของขนมเค้กทั้งหมด ที่เหลือเป็นของช็อกโกแลตเค้กหน้านิ่มกี่ก้อน

วิเคราะห์โจทย์ ต้องทราบจำนวนของคัพเค้กและชีสเค้ก โดยใช้วิธีการนำเศษส่วนของทั้งสองไปคูณกับจำนวนเค้กทั้งหมด แล้วนำจำนวนเค้กทั้งสองชินดไปลบออกจากจำนวนเค้กทั้งหมดโจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

 

ตัวอย่างที่ 3

ผลต่างของ  \LARGE 3\frac{4}{5}  กับ  \LARGE 1\frac{3}{4}  ต่ำกว่า \LARGE 2\frac{5}{8}  อยู่เท่าใด

วิเคราะห์โจทย์ คำตอบของผลต่างมีค่าน้อยกว่า ดังนั้นต้องนำ  \large 2\frac{5}{8}  ลบกับผลต่างของ \large 3\frac{4}{5}  กับ  \large 1\frac{3}{4} โจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

 

ตัวอย่างที่ 4

ผลหารเป็นของ \fn_jvn \LARGE 16\frac{2}{3}  กับ \fn_jvn \LARGE 6\frac{1}{4}  เป็นกี่เท่าของผลคูณ \fn_jvn \LARGE 1\frac{3}{4} กับ  \fn_jvn \LARGE \frac{6}{7} 

วิเคราะห์โจทย์ หาคำตอบผลหารของ \fn_jvn 6\frac{2}{3}  กับ \fn_jvn 6\frac{1}{4}   นำไปหารกับผลคูณของ \fn_jvn 1\frac{3}{4} กับ \fn_jvn \frac{6}{7}   โจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

คลิปตัวอย่างเรื่องโจทย์ปัญหา + – × ÷ ระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

Profile_imperative sentence

การใช้ประโยคคำสั่ง หรือ Imperative sentence ในชีวิตประจำวัน

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปเรียนรู้เกี่ยวกับ การใช้ประโยคคำสั่ง หรือ Imperative sentence ในชีวิตประจำวัน กันนะคะ ซึ่งเราจะเจอประโยคเหล่านี้ตั้งแต่ตื่นนอน ทานข้าว เดินไปโรงเรียน ไปดูหนัง ข้ามถนน ข้ามสะพาน ขึ้นแท็กซี่ และในกิจกรรมอื่นๆอีกมากมาย หากว่าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย รูปแบบและโครงสร้างประโยคคำสั่ง Imperative sentence     คือประโยคที่เจอบ่อยเมื่อต้องพูด ให้คำคำปรึกษา

wh- questions

Wh- Questions with do, does, did

สวัสดีน้องๆ ม. 3 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาเรียนรู้การถามคำถามโดยใช้ Wh- Questions ในภาษาอังกฤษกันครับ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลย

ดีเทอร์มิแนนต์

ดีเทอร์มิแนนต์ ดีเทอร์มิแนนต์ (Determinant) คือ ค่าของตัวเลขที่สอดคล้องกับเมทริกซ์จัตุรัส ถ้า A เป็นเมทริกซ์จัตุรัส จะเขียนแทนดีเทอร์มิแนนต์ของ A ด้วย det(A) หรือ โดยทั่วไปการหาค่าดีเทอร์มิแนนต์ที่เจอในข้อสอบจะไม่เกินเมทริกซ์ 3×3 เพราะถ้ามากกว่า 3 แล้ว จะเริ่มมีความยุ่งยาก **ค่าของดีเทอร์มิแนนต์จะเป็นจำนวนจริงและมีเพียงค่าเดียวเท่านั้นที่จะสอดคล้องกับเมทริกซ์จัตุรัส เช่น เมทริกซ์ B ก็จะมีค่าดีเทอร์มิแนนต์เพียงค่าเดียวเท่านั้น**  

NokAcademy_Infinitives after verbs

Infinitives after verbs

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนม.5 ที่รักทุกคนวันนี้เราจะไปดูการใช้ Infinitives after verbs กันเด้อ ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลดจร้า Let’s go!   ทบทวนความหมายของ “Infinitive”   Infinitive คือ   กริยารูปแบบที่ไม่ผัน ไม่เติมอะไรใดๆเลย ที่นำหน้าด้วย to (Infinitive with “to” หรือ

เรียนรู้และเข้าใจเรื่องคำซ้อนในภาษาไทย

คำซ้อน เป็นหนึ่งในบทเรียนหลักภาษาไทยเรื่องการสร้างคำ น้อง ๆ หลายคนอาจจะเคยสับสนกับวิธีสร้างคำซ้อน ไม่รู้ว่าแบบไหนกันแน่ที่เรียกว่าคำซ้อน เพราะภาษาไทยเรานั้นก็มีคำมากมายเหลือเกิน วันนี้เราจะมาเรียนรู้เรื่องคำซ้อนให้มากขึ้น รับรองว่าไม่ยากแน่นอนค่ะ   คำซ้อน     ความหมายของคำซ้อน   คำซ้อน คือ คำที่เกิดจากการนำคำตั้งแต่ 2 คำ ขึ้นไปมาเรียงต่อกัน โดยคำที่นำมาซ้อนกันจะต้องเป็นคำที่มีความหมายเหมือนกัน ใกล้เคียงกัน ตรงข้ามกัน หรืออาจมีเสียงที่คล้ายกัน

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1