ตัวอย่างโจทย์ปัญหา + – × ÷ ระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

บทความนี้จะยกตัวอย่างของโจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละพร้อมทั้งวิธีวิเคราะห์โจทย์ การแก้โจทย์ปัญหาและหาคำตอบออกมาได้อย่างสมเหตุสมผล หลังจากอ่านบทความนี้จบน้อง ๆ จะสามารถทำความเข้าใจกับโจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละและแก้โจทย์ได้ดียิ่งขึ้น

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ตัวอย่างโจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

 

ตัวอย่างที่ 1

คุณยายมีถั่วเขียว 3 เข่ง หนัก  20\tfrac{1}{2}  , 25\tfrac{1}{3}  , 23\tfrac{1}{2}  กิโลกรัม ตามลำดับ นำถั่วเขียวทั้งหมดมารวมกัน แล้วจากนั้นนำไปแบ่งให้หลาน 3 คนเท่า ๆกัน หลานจะได้ถั่วเขียวคนละกี่กิโลกรัม

วิเคราะห์โจทย์ จากโจทย์ให้นำถั่วเขียวทั้ง 3 เข่ง มารวมกัน นั่นคือการบวก จากนั้นนำถั่วเขียวทั้งหมดแบ่งให้ลาน 3 คน เท่า ๆ กัน นั่นคือการหาร

 

โจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

 

ตัวอย่างที่ 2

ร้ายขายขนมเค้กแห่งหนึ่ง วันนี้ขายขนมเค้กทั้งหมด 420 ก้อน เป็นคัพเค้กได้ \frac{3}{10} ของขนมเค้กทั้งหมด ขายชีสเค้กได้  \frac{7}{12} ของขนมเค้กทั้งหมด ที่เหลือเป็นของช็อกโกแลตเค้กหน้านิ่มกี่ก้อน

วิเคราะห์โจทย์ ต้องทราบจำนวนของคัพเค้กและชีสเค้ก โดยใช้วิธีการนำเศษส่วนของทั้งสองไปคูณกับจำนวนเค้กทั้งหมด แล้วนำจำนวนเค้กทั้งสองชินดไปลบออกจากจำนวนเค้กทั้งหมดโจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

 

ตัวอย่างที่ 3

ผลต่างของ  \LARGE 3\frac{4}{5}  กับ  \LARGE 1\frac{3}{4}  ต่ำกว่า \LARGE 2\frac{5}{8}  อยู่เท่าใด

วิเคราะห์โจทย์ คำตอบของผลต่างมีค่าน้อยกว่า ดังนั้นต้องนำ  \large 2\frac{5}{8}  ลบกับผลต่างของ \large 3\frac{4}{5}  กับ  \large 1\frac{3}{4} โจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

 

ตัวอย่างที่ 4

ผลหารเป็นของ \fn_jvn \LARGE 16\frac{2}{3}  กับ \fn_jvn \LARGE 6\frac{1}{4}  เป็นกี่เท่าของผลคูณ \fn_jvn \LARGE 1\frac{3}{4} กับ  \fn_jvn \LARGE \frac{6}{7} 

วิเคราะห์โจทย์ หาคำตอบผลหารของ \fn_jvn 6\frac{2}{3}  กับ \fn_jvn 6\frac{1}{4}   นำไปหารกับผลคูณของ \fn_jvn 1\frac{3}{4} กับ \fn_jvn \frac{6}{7}   โจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

คลิปตัวอย่างเรื่องโจทย์ปัญหา + – × ÷ ระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

จำนวนตรรกยะ

จำนวนตรรกยะ

ในบทความนี้เราจะได้รู้จักความหมายของจำนวนตรรกยะ และการเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยมหรือทศนิยมเป็นเศษส่วน

สุภาษิตสอนหญิง ข้อคิดเตือนใจหญิงจากยุคสู่ยุค

สุภาษิต คือถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวสืบกันมาตั้งแต่อดีต มีความหมายเป็นคติสอนใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการดำเนินชีวิต ทั้งทางความคิด การพูด และการกระทำ มีสุภาษิตมากมายที่สอนถึงการปฏิบัติตัวของผู้หญิงให้ถูกต้องเหมาะสม บทเรียนในวันนี้ น้อง ๆ จะได้เรียนรู้เรื่อง สุภาษิตสอนหญิง เป็นหนึ่งในบทเรียนเรื่องสุภาษิตที่มีความสำคัญและมีคุณค่าอย่างมาก จะเป็นอย่างไรบ้างนั้นเราจะดูพร้อมกันเลยค่ะ   สุภาษิตสอนหญิง : ความเป็นมา     สุภาษิตสอนหญิง เป็นวรรณกรรมคำสอนประเภทกลอนสุภาพ แต่งโดยสุนทรภู่ ประมาณปี

การใช้พจนานุกรม เรียนรู้วิธีหาคำให้เจอได้อย่างทันใจ

​พจนานุกรม มาจากคำภาษาบาลีว่า วจน (อ่านว่า วะ-จะ-นะ) ภาษาไทยแผลงเป็น พจน์ แปลว่า คำ คำพูด ถ้อยคำ กับคำว่า อนุกรม แปลว่า ลำดับ เมื่อรวมกันแล้วพจนานุกรมจึงหมายถึงหนังสือที่รวบรวมคำโดยจัดเรียงคำตามลำดับตัวอักษร แต่ด้วยความที่คำในภาษาไทยของเรานั้นมีมากมาย ทำให้น้อง ๆ หลายคนอาจจะมีท้อใจบ้างเมื่อเห็นความหนาของเล่มพจนานุกรม ไม่รู้จะหาคำที่ต้องการได้อย่างไร บทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ถึงวิธี การใช้พจนานุกรม

สัญลักษณ์แทนการบวก

สัญลักษณ์แทนการบวก

สัญลักษณ์แทนการบวก สัญลักษณ์แทนการบวก หรือ   เรียกว่า ซิกมา ( Sigma ) เราใช้เพื่อลดรูปการบวกกันของตัวเลข เนื่องจากว่าบางทีเป็นการบวกของจำนวนตัวเลข 100 พจน์ ถ้ามานั่งเขียนทีละตัวก็คงจะเยอะไป เราจึงจะใช้เครื่องหมายซิกมามาใช้เพื่อประหยัดเวลาในการเขียนนั่นเอง เช่น 1 + 2 + 3 + 4 +5  สามารถเขียนแทนด้วย

ศัพท์บัญญัติ

ศัพท์บัญญัติ เรียนรู้การยืมคำและบัญญัติขึ้นใหม่

น้อง ๆ หลายคนอาจจะไม่ค่อยคุ้นเคยกับคำว่า ศัพท์บัญญัติ สักเท่าไหร่ บทเรียนวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปทำความรู้จักกับศัพท์บัญญัติที่ว่านั่นกันค่ะว่าคืออะไร มีที่มาและมีหลักเกณฑ์ในการสร้างอย่างไรบ้าง ถ้าน้อง ๆ พร้อมที่จะเรียนรู้กันแล้ว ก็ไปศึกษาเรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ   การบัญญัติศัพท์คืออะไร     การบัญญัติศัพท์ คือการกำหนดคำศัพท์จากภาษาต่างประเทศขึ้นมาใหม่ในภาษาไทย เพื่อใช้สื่อความหมายบางอย่างโดยเฉพาะในศาสตร์แขนงใดแขนงหนึ่ง หรือเพื่อใช้ในการเขียนเอกสารของงานราชการ ตามเจตนาของผู้บัญญัติ ซึ่งคำศัพท์ที่เกิดจากวิธีการเช่นนี้จะเรียกว่า ศัพท์บัญญัติ โดยทั่วแล้วศัพท์บัญญัติมักจะมาจากภาษาอังกฤษ

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1