ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ข้อสอบO-Net

ข้อสอบO-Net ในบทความนี้จะคัดเฉพาะเรื่องจำนวนจริงมาให้น้องๆทุกคนได้ดูว่าที่ผ่านมาแต่ละปีข้อสอบเรื่องจำนวนจริงออกแนวไหนบ้าง โดยบทความนี้พี่ได้นำข้อสอบย้อนหลังของปี 49 ถึงปี 52 มาให้น้องๆได้ดูพร้อมเฉลยอย่างละเอียด เมื่อน้องๆได้ศึกษาโจทย์ทั้งหมดและลองฝึกทำด้วยตัวเองแล้ว น้องๆจะสามารถทำข้อสอบทั้งของในโรงเรียนและข้อสอบO-Net ได้แน่นอนค่ะ

ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 49

 

1. (\sqrt{2}+\sqrt{8}+\sqrt{18}+\sqrt{32})^{2}  มีค่าเท่ากับข้อในต่อไปนี้

  1.     60
  2.     60\sqrt{2}
  3.     100\sqrt{2}
  4.     200

คำตอบ  4

ข้อสอบO-Net

2. \frac{\sqrt[5]{-32}}{\sqrt[3]{27}}+\frac{2^{6}}{(64)^{\frac{3}{2}}}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     -\frac{13}{24}
  2.     -\frac{5}{6}
  3.         \frac{2}{3}
  4.        \frac{19}{24}

คำตอบ  1

ข้อสอบO-Net

3. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ \sqrt{2}^{(x^{2})} = \frac{2^{(4x)}}{4^{4}}  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     2
  2.     3
  3.     4
  4.     5

คำตอบ 3

ข้อสอบO-Net

4.  กำหนดให้ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1.  ถ้า      a < b     แล้ว จะได้      a^{2}< b^{2}
  2.  ถ้า   a < b < 0   แล้ว จะได้      ab < a^{2}
  3.  ถ้า    a^{2}< b^{2}     แล้ว จะได้      a <  b
  4. ถ้า    \left | a \right |< \left | b \right |     แล้ว จะได้      a <  b

คำตอบ  2

ถ้าเจอโจทย์แบบนี้ให้ลองแทนตัวเลขที่ทำให้แต่ละผิด 

พิจารณาข้อ 1 สมมติให้ a = -3 และ b = 1 จะเห็นว่า -3 < 1 นั่นคือ a < b

เมื่อเรายกกำลังสองทั้ง a และ b จะได้ว่า a² = 9 และ b² = 1  จะเห็นว่า 1 < 9 นั่นคือ b² < a²

ดังนั้น ข้อ 1 ผิด

 

พิจารณาข้อ  3 กรณีที่ a = -1  b = -2  ทำให้ข้อความข้างต้นเป็นเท็จ เพราะเมื่อยกกำลังสอง a² < b² จริง แต่ a < b ไม่จริง

ดังนั้น ข้อ 3 ผิด

 

พิจารณา ข้อ 4 สมมติให้ a = 1 b = -2 จะเห็นว่า  \left | a \right |< \left | b \right |  จริง แต่ a < b นั้นไม่จริง

ดังนั้น ข้อ 4 ผิด

 

5.)  อสมการในข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง

  1.     2^{1000}< 3^{600}< 10^{300}
  2.     3^{600}< 2^{1000}< 10^{300}
  3.     3^{600}< 10^{300}< 2^{1000}
  4.     10^{300}< 2^{1000}< 3^{600}

คำตอบ  3

ทำให้เลขยกกำลังเท่ากัน

 

6.)  ถ้า 4^{a} = \sqrt{2}  และ 16^{-b} = \frac{1}{4}  แล้ว a + b มีค่าเท่ากับเท่าใด

ตอบ 0.75

ข้อสอบO-Net

ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 49

 

1.)  \left | \frac{1}{2}-\frac{1}{\sqrt{2}} \right |-\left | 2-\sqrt{2} \right |  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     \frac{3}{2}-\frac{\sqrt{2}}{2}
  2.     \frac{\sqrt{2}}{2}-\frac{3}{2}
  3.      \frac{5}{2}-\frac{3\sqrt{2}}{2}
  4.      \frac{3\sqrt{2}}{2}-\frac{5}{2}

คำตอบ 4

ข้อสอบO-Net

2.)  \frac{8^{\frac{2}{3}}}{\sqrt[4]{144}}\cdot \frac{(18)^{\frac{1}{2}}}{\sqrt{6}}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      \sqrt{\frac{2}{3}}
  2.     \sqrt{\frac{3}{2}}
  3.          2
  4.          3

คำตอบ  3

ข้อสอบO-Net

3.) (1-\sqrt{2})^{2}(2+\sqrt{8})^{2}(1+\sqrt{2})^{3}(2-\sqrt{8})^{3}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.  -32
  2.   -24
  3.   -32-16\sqrt{2}
  4.   -24-16\sqrt{2}

คำตอบ  1

ข้อสอบO-Net

4.)  ถ้า x ≤ 5 แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

 

  1.      x^{2} \leq 25
  2.      \left | x \right | \leq 5
  3.       x\left | x \right |\leq 25
  4.       (x-\left | x \right |)^{2}\leq 25

คำตอบ  1

5.)  ถ้า (3+\frac{3}{8})^{3x} = \frac{16}{81}  แล้ว x มีค่าาเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.       -\frac{4}{9}
  2.       -\frac{2}{9 }
  3.       -\frac{1}{9}
  4.           \frac{1}{9}

คำตอบ 1

ข้อสอบO-Net

6.)  ถ้า x = -\frac{1}{2} เป็นรากของสมการ ax^{2}+3x-1 = 0   แล้ว รากอีกรากหนึ่งของสมการนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      -5
  2.     -\frac{1}{5}
  3.         \frac{1}{5}
  4.         5

คำตอบ 3

7.)  เซตคำตอบของอสมการ     4^{(2x^{2}-4x-5)}\leq \frac{1}{32}    คือเซตในข้อใดต่อไปนี้

  1.   [-\frac{5}{2},\frac{5}{2}]
  2.   [-\frac{-5}{2},1]
  3.   [-\frac{1}{2},1]
  4.   [-\frac{1}{2},\frac{5}{2}]

คำตอบ 4

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 50

 

1.)  (\frac{\sqrt{5}}{\sqrt{6}}-\frac{\sqrt{2}}{\sqrt{15}})^{2}   มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      \frac{3}{10}
  2.      \frac{7}{10}
  3.      \sqrt{5}-2
  4.      \sqrt{6}-2

คำตอบ 1

2.)  ถ้า (\sqrt{\frac{8}{125}})^{4}=(\frac{16}{625})^{\frac{1}{x}}  แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.     \frac{3}{4}
  2.     \frac{2}{3}
  3.     \frac{3}2{}
  4.     \frac{4}{3}

คำตอบ 2

ข้อสอบO-Net

3.)  เซตคำตอบของอสมการ  -1\leq \sqrt{2}+\frac{x}{1-\sqrt{2}}\leq 1   คือเซตในข้อใดต่อไปนี้

 

  1.       [\sqrt{2}-1,1]
  2.       [\sqrt{2}-1,2]
  3.       [3-2\sqrt{2},1]
  4.       [3-2\sqrt{2} , 2]

คำตอบ 3

4.)  สมการในข้อใดต่อไปนี้ มีคำตอบที่เป็นจำนวนจริงมากกว่า 2 คำตอบ

 

  1.     (x-2)^2+1=0
  2.     (x^2+2)(x^2-1)=0
  3.     (x-1)^2(x^2+2)=0
  4.     (x^2-1)(x+2)^2=0

คำตอบ 4

5.)  ผลบวกของคำตอบทุกคำตอบของสมการ  x^{3}-2x = \left | x \right |   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.     0
  2.    \sqrt{3}
  3.    \sqrt{3}-1
  4.    \sqrt{3}+1

คำตอบ 1

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 51

 

1.)  ค่าของ  \sqrt{(-2)^2}+(\frac{8^{\frac{1}{2}}+2\sqrt{2}}{\sqrt{32}})   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     -1
  2.      1
  3.      3
  4.      5

คำตอบ 3

ข้อสอบO-Net

2.)   กำหนดให้ค่าประมาณที่ถูกต้องถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3 ของ \sqrt{3}  และ \sqrt{5} คือ  1.732  และ 2.236 ตามลำดับ

พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก.    2.235+1.731\leq \sqrt{5}+\sqrt{3}\leq 2.237+1.733

ข.    2.235-1.731\leq \sqrt{5}-\sqrt{3}\leq 2.237-1.733

ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1.   ถูกทั้ง 2 ข้อ
  2.   ก ถูก  ข ผิด
  3.   ก ผิด  ข ถูก
  4.   ผิดทั้ง 2 ข้อ

คำตอบ 1

4.)  พืจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. สมบัติการมีอินเวอร์สการบวกของจำนวนจริงกล่าวว่า

สำหรับจำนวนจริง a จะมีจำนวนจริง b ที่ b + a = 0 = a + b

ข. สมบัติการมีอินเวอร์สการคูณของจำนวนจริง กล่าวว่า

สำหรับจำนวนจริง a จะมีจำนวนจริง b ที่ ba = 1 = ab

ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1. ถูกทั้ง 2 ข้อ
  2. ก  ถูก ข ผิด
  3. ก  ผิด ข ถูก
  4. ผิดทั้ง 2 ข้อ

คำตอบ 1 

ก.จริง เพราะ ยกตัวอย่าง a = 1 ตัวที่บวกกับ 1 แล้วได้ 0 คือ -1 นั่นคือ -1 เป็นอินเวอร์การบวกของ 1 

ข. จริง เพราะ สมมติให้ a = 2 ตัวที่คูณกับ 2 แล้วได้ 1 คือ \frac{1}{2}  นั่นคือ \frac{1}{2} เป็นอินเวอร์สการคูณของ 2 

จึงสรุปได้ว่า ก และ ข ถูก

**คำว่า “มี” แปลว่าอาจจะมีแค่ตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได้ ถ้าเรายกตัวอย่างมาได้สัก 1 ตัวอย่างที่เป็นจริงก็ถือว่า ข้อความนั้นเป็นจริง**

แต่ต้องระวัง ถ้าเจอคำว่า”ทุกๆ” หรือตำว่า “แต่ละตัว” การที่เราจะบอกว่าทุกตัวมันจริงคงไม่ไหวเพราะมันอาจจะมีจำนวนมาก ดังนั้นน้องๆควรยกตัวอย่างมาค้านว่าข้อความนั้นเป็นเท็จจะง่ายกว่า 

 

5.)   พิจารณาสมการ \left | x-7 \right |=6  ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ

  1. คำตอบหนึ่งของสมการมีค่าระหว่าง 10 และ 15
  2. ผลบวกของคำตอบทั้งหมดของสมการมีค่าเท่ากับ 14
  3. สมการนี้มีคำตอบมากกว่า 2 คำตอบ
  4. ใบบรรดาคำตอบทั้งหมดของสมการ คำตอบที่มีค่าน้อยที่สุดมีค่าน้อยกว่า 3

คำตอบ 3

 

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 52

 

1.)  พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. จำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบบางจำนวนเป็นจำนวนอตรรกยะ

ข. จำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบบางจำนวนเป็นจำนวนตรรกยะ

ข้อใดถูกต้อง

  1. ก  และ ข
  2. ก เท่านั้น
  3. ข เท่านั้น
  4. ก และ ข ผิด

คำตอบ 2 

ก. จากที่เรารู้อยู่แล้วว่าทศนิยมไม่รู้จบเป็นจำนวนอตรรกยะ ข้อความนี้จึงถูกต้อง

ข. ผิด เพราะจำนวนตรรกยะคือจำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มได้ แต่ทศนิยมไม่รู้จบไม่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มได้ ดังนั้นจึงไม่มีจำนวนตรรกยะใดที่เป็นจำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบ

 

2.)  ผลเฉลยของสมการ 2\left | 5-x \right |=1  อยู่ในช่วงใด

  1.   (-10, -5)
  2.   (-6, -4)
  3.   (-4, 5)
  4.   (-3, 6)

คำตอบ 4

3.)  ถ้า \frac{3}{4} เป็นผลเฉลยหนึ่งของสมการ 4x^2+bx-6 = 0  เมื่อ b เป็นจำนวนจริงแล้ว อีกผลเฉลยหนึ่งของสมการนี้มีค่าตรงกับข้อใด

  1.   -2
  2.   -\frac{1}{2}
  3.     \frac{1}{2}
  4.    2

คำตอบ  1

4.)  ข้อใดมีค่าต่างจากข้ออื่น

  1.    (-1)^0
  2.    (-1)^{0.2}
  3.    (-1)^{0.4}
  4.    (-1)^{0.8}

คำตอบ 2

5.)  ( \left | 4\sqrt{3}-5\sqrt{2} \right | -\left | 3\sqrt{5}-5\sqrt{2} \right |+\left | 4\sqrt{3}-3\sqrt{5} \right |)^2   เท่ากับข้อใด

  1.    0
  2.    180
  3.    192
  4.    200

คำตอบ 1

วิดีโอ ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง

 

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

01NokAcademy_Question Tag Profile

การใช้โครงสร้างประโยค Question Tags (ปัจจุบัน)

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป. 6 ที่น่ารักทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้ในหัวข้อเรื่อง การใช้โครงสร้างประโยค Question Tags ในรูปแบบปัจจุบัน โดยที่เราจะเจอกลุ่มประโยคในลักษณะนี้ร่วมกับรูปแบบโครงสร้างประโยคและกริยาที่เป็นปัจจุบัน (V. 1 and Present form) พร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยค่า ความหมายของ Question Tags   Question แปลว่า คำถาม ส่วนคำว่า Tag จะแปลว่า วลี

Past Tense ที่มี Time Expressions ในประโยคบอกเล่าและปฏิเสธ

สวัสดีค่ะนักเรียน ม.2 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดูเทคนิคและวิธีการใช้ ” Past Tense ที่มี Time Expressions ในประโยคบอกเล่าและปฏิเสธ” ซึ่งเมื่อเล่าถึงเวลาในอดีตส่วนใหญ่แล้วเรามักเจอคำว่า yesterday (เมื่อวานนี้), 1998 (ปี ค.ศ. ที่ผ่านมานานแล้ว), last month (เดือนที่แล้ว)  และกลุ่มคำอื่นๆ ที่กำกับเวลาในอดีต ซึ่งเราจะเจอ Past

เห็นแก่ลูก ศึกษาความเป็นมาบทละครพูดเรื่องแรกของไทย

  บทละครพูด เห็นแก่ลูก เป็นวรรณคดีเรื่องแรกที่น้อง ๆ ม.3 ทุกคนจะได้เรียน ความพิเศษของวรรณคดีไทยเรื่องนี้คือเป็นบทละครพูดเรื่องแรกของไทยอีกทั้งยังได้รับการแปลไปยันต่างประเทศอีก 13 ภาษา วรรณคดีเรื่องนี้มีความสำคัญและมีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร ถึงโด่งดัง เป็นที่รู้จัก และได้มาอยู่ในแบบเรียนภาษาไทย ถ้าพร้อมแล้วเราไปศึกษาประวัติความเป็นมาของวรรณคดีเรื่องนี้กันเลยค่ะ   ความเป็นมา บทละครพูด เห็นแก่ลูก     บทละครพูด เห็นแก่ลูก เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้พระนามแฝงว่าพระขรรค์เพชร

การเขียนเรียงความ

เทคนิคการเขียนเรียงความง่าย ๆ ที่จะช่วยถ่ายทอดความคิดให้เป็นขั้นตอน

การเขียนเรียงความ เป็นทักษะการเขียนที่มีสำคัญมาก เพราะเป็นการถ่ายทอดความคิดให้ออกมาอยู่ในรูปของตัวอักษร จะมีวิธีเขียนอย่างไรบ้างนั้น บทเรียนในวันนี้จะทำให้น้อง ๆ มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการเขียนเรียงมากขึ้น จะเป็นอย่างไรนั้น ไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ     เรียงความ เป็นทักษะการเขียนที่แสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิด ความเห็น ความเข้าใจของผู้เขียน มีรูปแบบและวิธีการเขียนที่มีแบบแผน เพื่อถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นตัวอักษรให้น่าอ่าน และยังเป็นพื้นฐานของการเขียนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นบทความหรือนวนิยายอีกด้วย โดยประเภทของการเขียนเรียงความมีดังนี้ 1. เรื่องที่เขียนเพื่อความรู้ 2. เรื่องที่เขียนเพื่อความเข้าใจ

M1 This, That, These, Those

การใช้ This, That, These, Those

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.1 ที่น่ารักทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนเรื่อง การใช้ This, That, These, Those ในภาษาอังกฤษ กันค่ะ พร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจ้า   บทนำ ก่อนที่นักเรียนจะไปเรียนเรื่อง การใช้  This, That, These, Those ครูอยากจะให้ลองดูตัวอย่างของการใช้ This, That, These, Those (Determiners) และ

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1