ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ข้อสอบO-Net

ข้อสอบO-Net ในบทความนี้จะคัดเฉพาะเรื่องจำนวนจริงมาให้น้องๆทุกคนได้ดูว่าที่ผ่านมาแต่ละปีข้อสอบเรื่องจำนวนจริงออกแนวไหนบ้าง โดยบทความนี้พี่ได้นำข้อสอบย้อนหลังของปี 49 ถึงปี 52 มาให้น้องๆได้ดูพร้อมเฉลยอย่างละเอียด เมื่อน้องๆได้ศึกษาโจทย์ทั้งหมดและลองฝึกทำด้วยตัวเองแล้ว น้องๆจะสามารถทำข้อสอบทั้งของในโรงเรียนและข้อสอบO-Net ได้แน่นอนค่ะ

ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 49

 

1. (\sqrt{2}+\sqrt{8}+\sqrt{18}+\sqrt{32})^{2}  มีค่าเท่ากับข้อในต่อไปนี้

  1.     60
  2.     60\sqrt{2}
  3.     100\sqrt{2}
  4.     200

คำตอบ  4

ข้อสอบO-Net

2. \frac{\sqrt[5]{-32}}{\sqrt[3]{27}}+\frac{2^{6}}{(64)^{\frac{3}{2}}}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     -\frac{13}{24}
  2.     -\frac{5}{6}
  3.         \frac{2}{3}
  4.        \frac{19}{24}

คำตอบ  1

ข้อสอบO-Net

3. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ \sqrt{2}^{(x^{2})} = \frac{2^{(4x)}}{4^{4}}  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     2
  2.     3
  3.     4
  4.     5

คำตอบ 3

ข้อสอบO-Net

4.  กำหนดให้ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1.  ถ้า      a < b     แล้ว จะได้      a^{2}< b^{2}
  2.  ถ้า   a < b < 0   แล้ว จะได้      ab < a^{2}
  3.  ถ้า    a^{2}< b^{2}     แล้ว จะได้      a <  b
  4. ถ้า    \left | a \right |< \left | b \right |     แล้ว จะได้      a <  b

คำตอบ  2

ถ้าเจอโจทย์แบบนี้ให้ลองแทนตัวเลขที่ทำให้แต่ละผิด 

พิจารณาข้อ 1 สมมติให้ a = -3 และ b = 1 จะเห็นว่า -3 < 1 นั่นคือ a < b

เมื่อเรายกกำลังสองทั้ง a และ b จะได้ว่า a² = 9 และ b² = 1  จะเห็นว่า 1 < 9 นั่นคือ b² < a²

ดังนั้น ข้อ 1 ผิด

 

พิจารณาข้อ  3 กรณีที่ a = -1  b = -2  ทำให้ข้อความข้างต้นเป็นเท็จ เพราะเมื่อยกกำลังสอง a² < b² จริง แต่ a < b ไม่จริง

ดังนั้น ข้อ 3 ผิด

 

พิจารณา ข้อ 4 สมมติให้ a = 1 b = -2 จะเห็นว่า  \left | a \right |< \left | b \right |  จริง แต่ a < b นั้นไม่จริง

ดังนั้น ข้อ 4 ผิด

 

5.)  อสมการในข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง

  1.     2^{1000}< 3^{600}< 10^{300}
  2.     3^{600}< 2^{1000}< 10^{300}
  3.     3^{600}< 10^{300}< 2^{1000}
  4.     10^{300}< 2^{1000}< 3^{600}

คำตอบ  3

ทำให้เลขยกกำลังเท่ากัน

 

6.)  ถ้า 4^{a} = \sqrt{2}  และ 16^{-b} = \frac{1}{4}  แล้ว a + b มีค่าเท่ากับเท่าใด

ตอบ 0.75

ข้อสอบO-Net

ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 49

 

1.)  \left | \frac{1}{2}-\frac{1}{\sqrt{2}} \right |-\left | 2-\sqrt{2} \right |  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     \frac{3}{2}-\frac{\sqrt{2}}{2}
  2.     \frac{\sqrt{2}}{2}-\frac{3}{2}
  3.      \frac{5}{2}-\frac{3\sqrt{2}}{2}
  4.      \frac{3\sqrt{2}}{2}-\frac{5}{2}

คำตอบ 4

ข้อสอบO-Net

2.)  \frac{8^{\frac{2}{3}}}{\sqrt[4]{144}}\cdot \frac{(18)^{\frac{1}{2}}}{\sqrt{6}}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      \sqrt{\frac{2}{3}}
  2.     \sqrt{\frac{3}{2}}
  3.          2
  4.          3

คำตอบ  3

ข้อสอบO-Net

3.) (1-\sqrt{2})^{2}(2+\sqrt{8})^{2}(1+\sqrt{2})^{3}(2-\sqrt{8})^{3}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.  -32
  2.   -24
  3.   -32-16\sqrt{2}
  4.   -24-16\sqrt{2}

คำตอบ  1

ข้อสอบO-Net

4.)  ถ้า x ≤ 5 แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

 

  1.      x^{2} \leq 25
  2.      \left | x \right | \leq 5
  3.       x\left | x \right |\leq 25
  4.       (x-\left | x \right |)^{2}\leq 25

คำตอบ  1

5.)  ถ้า (3+\frac{3}{8})^{3x} = \frac{16}{81}  แล้ว x มีค่าาเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.       -\frac{4}{9}
  2.       -\frac{2}{9 }
  3.       -\frac{1}{9}
  4.           \frac{1}{9}

คำตอบ 1

ข้อสอบO-Net

6.)  ถ้า x = -\frac{1}{2} เป็นรากของสมการ ax^{2}+3x-1 = 0   แล้ว รากอีกรากหนึ่งของสมการนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      -5
  2.     -\frac{1}{5}
  3.         \frac{1}{5}
  4.         5

คำตอบ 3

7.)  เซตคำตอบของอสมการ     4^{(2x^{2}-4x-5)}\leq \frac{1}{32}    คือเซตในข้อใดต่อไปนี้

  1.   [-\frac{5}{2},\frac{5}{2}]
  2.   [-\frac{-5}{2},1]
  3.   [-\frac{1}{2},1]
  4.   [-\frac{1}{2},\frac{5}{2}]

คำตอบ 4

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 50

 

1.)  (\frac{\sqrt{5}}{\sqrt{6}}-\frac{\sqrt{2}}{\sqrt{15}})^{2}   มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      \frac{3}{10}
  2.      \frac{7}{10}
  3.      \sqrt{5}-2
  4.      \sqrt{6}-2

คำตอบ 1

2.)  ถ้า (\sqrt{\frac{8}{125}})^{4}=(\frac{16}{625})^{\frac{1}{x}}  แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.     \frac{3}{4}
  2.     \frac{2}{3}
  3.     \frac{3}2{}
  4.     \frac{4}{3}

คำตอบ 2

ข้อสอบO-Net

3.)  เซตคำตอบของอสมการ  -1\leq \sqrt{2}+\frac{x}{1-\sqrt{2}}\leq 1   คือเซตในข้อใดต่อไปนี้

 

  1.       [\sqrt{2}-1,1]
  2.       [\sqrt{2}-1,2]
  3.       [3-2\sqrt{2},1]
  4.       [3-2\sqrt{2} , 2]

คำตอบ 3

4.)  สมการในข้อใดต่อไปนี้ มีคำตอบที่เป็นจำนวนจริงมากกว่า 2 คำตอบ

 

  1.     (x-2)^2+1=0
  2.     (x^2+2)(x^2-1)=0
  3.     (x-1)^2(x^2+2)=0
  4.     (x^2-1)(x+2)^2=0

คำตอบ 4

5.)  ผลบวกของคำตอบทุกคำตอบของสมการ  x^{3}-2x = \left | x \right |   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.     0
  2.    \sqrt{3}
  3.    \sqrt{3}-1
  4.    \sqrt{3}+1

คำตอบ 1

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 51

 

1.)  ค่าของ  \sqrt{(-2)^2}+(\frac{8^{\frac{1}{2}}+2\sqrt{2}}{\sqrt{32}})   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     -1
  2.      1
  3.      3
  4.      5

คำตอบ 3

ข้อสอบO-Net

2.)   กำหนดให้ค่าประมาณที่ถูกต้องถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3 ของ \sqrt{3}  และ \sqrt{5} คือ  1.732  และ 2.236 ตามลำดับ

พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก.    2.235+1.731\leq \sqrt{5}+\sqrt{3}\leq 2.237+1.733

ข.    2.235-1.731\leq \sqrt{5}-\sqrt{3}\leq 2.237-1.733

ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1.   ถูกทั้ง 2 ข้อ
  2.   ก ถูก  ข ผิด
  3.   ก ผิด  ข ถูก
  4.   ผิดทั้ง 2 ข้อ

คำตอบ 1

4.)  พืจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. สมบัติการมีอินเวอร์สการบวกของจำนวนจริงกล่าวว่า

สำหรับจำนวนจริง a จะมีจำนวนจริง b ที่ b + a = 0 = a + b

ข. สมบัติการมีอินเวอร์สการคูณของจำนวนจริง กล่าวว่า

สำหรับจำนวนจริง a จะมีจำนวนจริง b ที่ ba = 1 = ab

ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1. ถูกทั้ง 2 ข้อ
  2. ก  ถูก ข ผิด
  3. ก  ผิด ข ถูก
  4. ผิดทั้ง 2 ข้อ

คำตอบ 1 

ก.จริง เพราะ ยกตัวอย่าง a = 1 ตัวที่บวกกับ 1 แล้วได้ 0 คือ -1 นั่นคือ -1 เป็นอินเวอร์การบวกของ 1 

ข. จริง เพราะ สมมติให้ a = 2 ตัวที่คูณกับ 2 แล้วได้ 1 คือ \frac{1}{2}  นั่นคือ \frac{1}{2} เป็นอินเวอร์สการคูณของ 2 

จึงสรุปได้ว่า ก และ ข ถูก

**คำว่า “มี” แปลว่าอาจจะมีแค่ตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได้ ถ้าเรายกตัวอย่างมาได้สัก 1 ตัวอย่างที่เป็นจริงก็ถือว่า ข้อความนั้นเป็นจริง**

แต่ต้องระวัง ถ้าเจอคำว่า”ทุกๆ” หรือตำว่า “แต่ละตัว” การที่เราจะบอกว่าทุกตัวมันจริงคงไม่ไหวเพราะมันอาจจะมีจำนวนมาก ดังนั้นน้องๆควรยกตัวอย่างมาค้านว่าข้อความนั้นเป็นเท็จจะง่ายกว่า 

 

5.)   พิจารณาสมการ \left | x-7 \right |=6  ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ

  1. คำตอบหนึ่งของสมการมีค่าระหว่าง 10 และ 15
  2. ผลบวกของคำตอบทั้งหมดของสมการมีค่าเท่ากับ 14
  3. สมการนี้มีคำตอบมากกว่า 2 คำตอบ
  4. ใบบรรดาคำตอบทั้งหมดของสมการ คำตอบที่มีค่าน้อยที่สุดมีค่าน้อยกว่า 3

คำตอบ 3

 

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 52

 

1.)  พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. จำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบบางจำนวนเป็นจำนวนอตรรกยะ

ข. จำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบบางจำนวนเป็นจำนวนตรรกยะ

ข้อใดถูกต้อง

  1. ก  และ ข
  2. ก เท่านั้น
  3. ข เท่านั้น
  4. ก และ ข ผิด

คำตอบ 2 

ก. จากที่เรารู้อยู่แล้วว่าทศนิยมไม่รู้จบเป็นจำนวนอตรรกยะ ข้อความนี้จึงถูกต้อง

ข. ผิด เพราะจำนวนตรรกยะคือจำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มได้ แต่ทศนิยมไม่รู้จบไม่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มได้ ดังนั้นจึงไม่มีจำนวนตรรกยะใดที่เป็นจำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบ

 

2.)  ผลเฉลยของสมการ 2\left | 5-x \right |=1  อยู่ในช่วงใด

  1.   (-10, -5)
  2.   (-6, -4)
  3.   (-4, 5)
  4.   (-3, 6)

คำตอบ 4

3.)  ถ้า \frac{3}{4} เป็นผลเฉลยหนึ่งของสมการ 4x^2+bx-6 = 0  เมื่อ b เป็นจำนวนจริงแล้ว อีกผลเฉลยหนึ่งของสมการนี้มีค่าตรงกับข้อใด

  1.   -2
  2.   -\frac{1}{2}
  3.     \frac{1}{2}
  4.    2

คำตอบ  1

4.)  ข้อใดมีค่าต่างจากข้ออื่น

  1.    (-1)^0
  2.    (-1)^{0.2}
  3.    (-1)^{0.4}
  4.    (-1)^{0.8}

คำตอบ 2

5.)  ( \left | 4\sqrt{3}-5\sqrt{2} \right | -\left | 3\sqrt{5}-5\sqrt{2} \right |+\left | 4\sqrt{3}-3\sqrt{5} \right |)^2   เท่ากับข้อใด

  1.    0
  2.    180
  3.    192
  4.    200

คำตอบ 1

วิดีโอ ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง

 

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

ถอดคำประพันธ์ กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า พร้อมศึกษาคุณค่าในเรื่อง

  ในบทเรียนก่อนหน้าเราได้เรียนรู้ประวัติความเป็นมา ลักษณะคำประพันธ์และเรื่องย่อกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้าไปแล้ว บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะต่อเนื่องกับครั้งก่อนโดยการพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้เรื่องตัวบทเด่น ๆ ถอดคำประพันธ์ กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า พร้อมทั้งศึกษาคุณค่าที่แฝงอยู่ในเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เนื้อหา หรือด้านวรรณศิลป์ ถ้าน้อง ๆ พร้อมจะเรียนวรรณคดีเรื่องนี้ต่อไปแล้ว ก็ไปลุยพร้อมกันเลยค่ะ     ถอดคำประพันธ์ กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า   สกุลเอ๋ยสกุลสูง ชักจูงจิตชูศักดิ์ศรี อำนาจนำความสง่าอ่าอินทรีย์

จำนวนอตรรกยะ

จำนวนอตรรกยะ

ในบทความนี้เราจะได้รู้จักความหมายของจำนวนอตรรกยะ และหลักการของจำนวนอตรรกยะกับการนำไปประยุกต์

วัฒนธรรมกับภาษา

วัฒนธรรมกับภาษา ความสัมพันธ์ของสองสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น

มนุษย์ก่อให้เกิดภาษา และภาษาก็ก่อให้เกิดวัฒนธรรม น้อง ๆ สงสัยกันหรือไม่คะว่ามนุษย์ วัฒนธรรมกับภาษา เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกันได้อย่างไร บทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเจาะลึกถึงเรื่องราวที่ว่านี่กันค่ะ ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนรู้กันเลยค่ะ   มนุษย์ วัฒนธรรมกับภาษา   วัฒนธรรม คืออะไร วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น รากศัพท์ในภาษาละตินมีความหมายว่าการเพาะปลูก แต่ไม่ได้ใช้แค่ในเชิงเกษตรกรรม แต่จะรวมไปถึงการปลูกฝังในด้านต่าง ๆ ทั้งให้การศึกษา ความเคารพ ซึ่งทั้งหมดนี้ล้วนเป็นสิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลง

เรียนออนไลน์ คณิตศาสตร์

กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร (จุดตัดแกน x และจุดตัดแกน y)

เนื้อหาในบทนี้จะเป็นการกล่าวถึง การแสดงความสัมพันธ์ของปริมาณสองปริมาณแล้วนำมาเขียนแสดงเป็นกราฟโดยใช้วิธีการหาจุดตัดของแกน x และ แกน y

Suggesting Profile

การใช้ประโยคคำสั่ง คำขอร้อง และคำแนะนำง่ายๆ

  สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาเรียนรู้เกี่ยวกับ การใช้ประโยคคำสั่ง คำขอร้อง และคำแนะนำง่ายๆ “Easy Imperative Sentences” กันนะคะ ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย รูปแบบและโครงสร้างประโยคคำสั่ง Imperative sentence     Imperative sentence ในรูปแบบประโยคบอกเล่าจะ ใช้ Verb base form (V.1)

การนำเสนอข้อมูลในรูปตารางแจกแจงความถี่

การนำเสนอข้อมูลในรูปตารางแจกแจงความถี่

การแจกแจงความถี่ของข้อมูล (Frequency distribution)              การแจกแจงความถี่ของข้อมูล  เป็นวิธีการทางสถิติอย่างหนึ่งที่ใช้ในการจัดข้อมูลที่มีอยู่ให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อความสะดวกในการนำเสนอและการวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น  มี 2 ลักษณะ คือ ตารางแจกแจงความถี่แบบไม่เป็นอันตรภาคชั้น และ ตารางแจกแจงความถี่แบบไม่เป็นอันตรภาคชั้น การสร้างตารางแจกแจงความถี่ แบบไม่เป็นอันตรภาคชั้น การนำเสนอข้อมูลในรูปตารางแจกแจงความถี่ แบบไม่เป็นอันตรภาคชั้น เหมาะสำหรับข้อมูลที่มีค่าจาการสังเกตไม่มากนักหรือไม่ซับซ้อน  1.

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1