ตัวอย่างโจทย์ปัญหา + – × ÷ ระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

บทความนี้จะยกตัวอย่างของโจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละพร้อมทั้งวิธีวิเคราะห์โจทย์ การแก้โจทย์ปัญหาและหาคำตอบออกมาได้อย่างสมเหตุสมผล หลังจากอ่านบทความนี้จบน้อง ๆ จะสามารถทำความเข้าใจกับโจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละและแก้โจทย์ได้ดียิ่งขึ้น

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ตัวอย่างโจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

 

ตัวอย่างที่ 1

คุณยายมีถั่วเขียว 3 เข่ง หนัก  20\tfrac{1}{2}  , 25\tfrac{1}{3}  , 23\tfrac{1}{2}  กิโลกรัม ตามลำดับ นำถั่วเขียวทั้งหมดมารวมกัน แล้วจากนั้นนำไปแบ่งให้หลาน 3 คนเท่า ๆกัน หลานจะได้ถั่วเขียวคนละกี่กิโลกรัม

วิเคราะห์โจทย์ จากโจทย์ให้นำถั่วเขียวทั้ง 3 เข่ง มารวมกัน นั่นคือการบวก จากนั้นนำถั่วเขียวทั้งหมดแบ่งให้ลาน 3 คน เท่า ๆ กัน นั่นคือการหาร

 

โจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

 

ตัวอย่างที่ 2

ร้ายขายขนมเค้กแห่งหนึ่ง วันนี้ขายขนมเค้กทั้งหมด 420 ก้อน เป็นคัพเค้กได้ \frac{3}{10} ของขนมเค้กทั้งหมด ขายชีสเค้กได้  \frac{7}{12} ของขนมเค้กทั้งหมด ที่เหลือเป็นของช็อกโกแลตเค้กหน้านิ่มกี่ก้อน

วิเคราะห์โจทย์ ต้องทราบจำนวนของคัพเค้กและชีสเค้ก โดยใช้วิธีการนำเศษส่วนของทั้งสองไปคูณกับจำนวนเค้กทั้งหมด แล้วนำจำนวนเค้กทั้งสองชินดไปลบออกจากจำนวนเค้กทั้งหมดโจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

 

ตัวอย่างที่ 3

ผลต่างของ  \LARGE 3\frac{4}{5}  กับ  \LARGE 1\frac{3}{4}  ต่ำกว่า \LARGE 2\frac{5}{8}  อยู่เท่าใด

วิเคราะห์โจทย์ คำตอบของผลต่างมีค่าน้อยกว่า ดังนั้นต้องนำ  \large 2\frac{5}{8}  ลบกับผลต่างของ \large 3\frac{4}{5}  กับ  \large 1\frac{3}{4} โจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

 

ตัวอย่างที่ 4

ผลหารเป็นของ \fn_jvn \LARGE 16\frac{2}{3}  กับ \fn_jvn \LARGE 6\frac{1}{4}  เป็นกี่เท่าของผลคูณ \fn_jvn \LARGE 1\frac{3}{4} กับ  \fn_jvn \LARGE \frac{6}{7} 

วิเคราะห์โจทย์ หาคำตอบผลหารของ \fn_jvn 6\frac{2}{3}  กับ \fn_jvn 6\frac{1}{4}   นำไปหารกับผลคูณของ \fn_jvn 1\frac{3}{4} กับ \fn_jvn \frac{6}{7}   โจทย์ปัญหาบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

คลิปตัวอย่างเรื่องโจทย์ปัญหา + – × ÷ ระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

ความน่าจะเป็น

ความน่าจะเป็น

บทความนี้จะแนะนำให้รู้จักกับ ความน่าจะเป็น ซึ่งได้กล่าวถึงในลักษณะของความหมายและยกตัวอย่างประกอบ รวมถึงคำที่เกี่ยวข้องกับความน่าจะเป็น เช่นการทดลองสุ่ม ปริภูมิตัวอย่าง และเหตุการณ์ ดังต่อไปนี้ ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น (Probability)  เป็นจำนวนที่ใช้เพื่อบอกโอกาสที่เหตุการณ์หนึ่ง ๆ จะเกิดขึ้น ซึ่งมี 3 ลักษณะ คือ ไม่เกิดขึ้นอย่างแน่นอนจะมีค่าความน่าจะเป็นเท่ากับ 0 อาจจะเกิดขึ้นหรือไม่ก็ได้ จะมีค่าความน่าจะเป็นอยู่ระหว่าง 0 กับ 1

การออกเสียงพยัญชนะไทย-01

เสียงพยัญชนะไทย ออกเสียงอย่างไรให้ถูกต้อง

  เชื่อว่าน้อง ๆ หลายคงเคยสงสัยเรื่องการออกเสียงพยัญชนะไทยกันไม่มากก็น้อย เพราะพยัญชนะในภาษาไทยของเรานั้นมีด้วยกัน 44 ตัว แต่กลับมีหน่วยเสียงเพียงครึ่งเดียวเท่านั้น ทำไมการออกเสียงพยัญชนะไทยถึงไม่สามารถออกเสียงตามรูปอักษรทั้ง 44 รูปได้? ไหนจะพยัญชนะท้ายที่เขียนอีกอย่างแต่ดันออกเสียงไปอีกอย่าง บทเรียนในวันนี้จะช่วยไขข้อข้องใจให้กับน้อง ๆ หรือคนที่กำลังสับสนเรื่องการออกเสียงพยัญชนะไทย ให้กระจ่างและสามารถออกเสียงได้อย่างถูกต้อง ดังนั้น เราไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ     เสียงพยัญชนะไทย เสียงพยัญชนะ คือ

ดีเทอร์มิแนนต์

ดีเทอร์มิแนนต์ ดีเทอร์มิแนนต์ (Determinant) คือ ค่าของตัวเลขที่สอดคล้องกับเมทริกซ์จัตุรัส ถ้า A เป็นเมทริกซ์จัตุรัส จะเขียนแทนดีเทอร์มิแนนต์ของ A ด้วย det(A) หรือ โดยทั่วไปการหาค่าดีเทอร์มิแนนต์ที่เจอในข้อสอบจะไม่เกินเมทริกซ์ 3×3 เพราะถ้ามากกว่า 3 แล้ว จะเริ่มมีความยุ่งยาก **ค่าของดีเทอร์มิแนนต์จะเป็นจำนวนจริงและมีเพียงค่าเดียวเท่านั้นที่จะสอดคล้องกับเมทริกซ์จัตุรัส เช่น เมทริกซ์ B ก็จะมีค่าดีเทอร์มิแนนต์เพียงค่าเดียวเท่านั้น**  

เรขาคณิตสามมิติ

เรขาคณิตสามมิติ

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้กับรูปเรขาคณิตสามมิติและส่วนประกอบต่างๆ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต

เซตคืออะไร? เซต คือ คำที่ใช้เรียกกลุ่มของสิ่งต่างๆ ทำไมต้องเรียนเซต เซตมีประโยชน์ในเรื่องของการจำแนกสิ่งต่างๆออกเป็นกลุ่มๆ อีกทั้งยังแทรกอยู่ในเนื้อหาบทอื่นๆของคณิตศาสตร์ เราจึงจำเป็นต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับเซต เพื่อที่จะเรียนเนื้อหาบทอื่นๆได้ง่ายขึ้น ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต เซต คือคำที่ใช้เรียกกลุ่มของสิ่งต่างๆ เช่น เซตของสระในภาษาอังกฤษ คือ กลุ่มของสระในภาษาอังกฤษ a,e,i,o,u เป็นต้น สมาชิกของเซต คือ สิ่งที่อยู่ในเซต เช่น เซตของสระในภาษาอังกฤษ สมาชิกของเซต คือ

มงคลสูตร

รอบรู้เรื่องมงคลสูตรคำฉันท์ วรรณคดีพระพุทธศาสนาที่มาของหลักมงคล 38

บทนำ   สวัสดีน้อง ๆ ทุกคนกลับมาพบกับบทเรียนภาษาไทยที่น่าสนใจอีกเช่นเคย สำหรับเนื้อหาวันนี้เราจะขอหยิบยกวรรณคดีพระพุทธศาสนามาเล่าให้ทุกคนได้ฟังกันบ้าง ซึ่งวรรณคดีที่เราได้เลือกมานั่นก็คือเรื่อง มงคลสูตรคำฉันท์ เชื่อว่าน้อง ๆ มัธยมปลายหลายคนคงจะคุ้นเคยกับเรื่องนี้กันดีอยู่แล้ว เพราะเป็นวรรณคดี ที่สอนบรรทัดฐานของการกระทำความดีตามวิถีของชาวพุทธ และเป็นที่มาของหลักมงคล 38 ประการด้วย ดีงนั้น เดี๋ยววันนี้เราจะพาน้อง ๆ ไปรู้จักกับวรรณคดีเรื่องนี้ให้มากขึ้น ถ้าพร้อมแล้วก็เตรียมตัวเข้าสู่เนื้อหากันได้เลย     ประวัติความเป็นมา เรื่อง

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1