ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ข้อสอบO-Net

ข้อสอบO-Net ในบทความนี้จะคัดเฉพาะเรื่องจำนวนจริงมาให้น้องๆทุกคนได้ดูว่าที่ผ่านมาแต่ละปีข้อสอบเรื่องจำนวนจริงออกแนวไหนบ้าง โดยบทความนี้พี่ได้นำข้อสอบย้อนหลังของปี 49 ถึงปี 52 มาให้น้องๆได้ดูพร้อมเฉลยอย่างละเอียด เมื่อน้องๆได้ศึกษาโจทย์ทั้งหมดและลองฝึกทำด้วยตัวเองแล้ว น้องๆจะสามารถทำข้อสอบทั้งของในโรงเรียนและข้อสอบO-Net ได้แน่นอนค่ะ

ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 49

 

1. (\sqrt{2}+\sqrt{8}+\sqrt{18}+\sqrt{32})^{2}  มีค่าเท่ากับข้อในต่อไปนี้

  1.     60
  2.     60\sqrt{2}
  3.     100\sqrt{2}
  4.     200

คำตอบ  4

ข้อสอบO-Net

2. \frac{\sqrt[5]{-32}}{\sqrt[3]{27}}+\frac{2^{6}}{(64)^{\frac{3}{2}}}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     -\frac{13}{24}
  2.     -\frac{5}{6}
  3.         \frac{2}{3}
  4.        \frac{19}{24}

คำตอบ  1

ข้อสอบO-Net

3. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ \sqrt{2}^{(x^{2})} = \frac{2^{(4x)}}{4^{4}}  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     2
  2.     3
  3.     4
  4.     5

คำตอบ 3

ข้อสอบO-Net

4.  กำหนดให้ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1.  ถ้า      a < b     แล้ว จะได้      a^{2}< b^{2}
  2.  ถ้า   a < b < 0   แล้ว จะได้      ab < a^{2}
  3.  ถ้า    a^{2}< b^{2}     แล้ว จะได้      a <  b
  4. ถ้า    \left | a \right |< \left | b \right |     แล้ว จะได้      a <  b

คำตอบ  2

ถ้าเจอโจทย์แบบนี้ให้ลองแทนตัวเลขที่ทำให้แต่ละผิด 

พิจารณาข้อ 1 สมมติให้ a = -3 และ b = 1 จะเห็นว่า -3 < 1 นั่นคือ a < b

เมื่อเรายกกำลังสองทั้ง a และ b จะได้ว่า a² = 9 และ b² = 1  จะเห็นว่า 1 < 9 นั่นคือ b² < a²

ดังนั้น ข้อ 1 ผิด

 

พิจารณาข้อ  3 กรณีที่ a = -1  b = -2  ทำให้ข้อความข้างต้นเป็นเท็จ เพราะเมื่อยกกำลังสอง a² < b² จริง แต่ a < b ไม่จริง

ดังนั้น ข้อ 3 ผิด

 

พิจารณา ข้อ 4 สมมติให้ a = 1 b = -2 จะเห็นว่า  \left | a \right |< \left | b \right |  จริง แต่ a < b นั้นไม่จริง

ดังนั้น ข้อ 4 ผิด

 

5.)  อสมการในข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง

  1.     2^{1000}< 3^{600}< 10^{300}
  2.     3^{600}< 2^{1000}< 10^{300}
  3.     3^{600}< 10^{300}< 2^{1000}
  4.     10^{300}< 2^{1000}< 3^{600}

คำตอบ  3

ทำให้เลขยกกำลังเท่ากัน

 

6.)  ถ้า 4^{a} = \sqrt{2}  และ 16^{-b} = \frac{1}{4}  แล้ว a + b มีค่าเท่ากับเท่าใด

ตอบ 0.75

ข้อสอบO-Net

ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 49

 

1.)  \left | \frac{1}{2}-\frac{1}{\sqrt{2}} \right |-\left | 2-\sqrt{2} \right |  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     \frac{3}{2}-\frac{\sqrt{2}}{2}
  2.     \frac{\sqrt{2}}{2}-\frac{3}{2}
  3.      \frac{5}{2}-\frac{3\sqrt{2}}{2}
  4.      \frac{3\sqrt{2}}{2}-\frac{5}{2}

คำตอบ 4

ข้อสอบO-Net

2.)  \frac{8^{\frac{2}{3}}}{\sqrt[4]{144}}\cdot \frac{(18)^{\frac{1}{2}}}{\sqrt{6}}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      \sqrt{\frac{2}{3}}
  2.     \sqrt{\frac{3}{2}}
  3.          2
  4.          3

คำตอบ  3

ข้อสอบO-Net

3.) (1-\sqrt{2})^{2}(2+\sqrt{8})^{2}(1+\sqrt{2})^{3}(2-\sqrt{8})^{3}  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.  -32
  2.   -24
  3.   -32-16\sqrt{2}
  4.   -24-16\sqrt{2}

คำตอบ  1

ข้อสอบO-Net

4.)  ถ้า x ≤ 5 แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

 

  1.      x^{2} \leq 25
  2.      \left | x \right | \leq 5
  3.       x\left | x \right |\leq 25
  4.       (x-\left | x \right |)^{2}\leq 25

คำตอบ  1

5.)  ถ้า (3+\frac{3}{8})^{3x} = \frac{16}{81}  แล้ว x มีค่าาเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.       -\frac{4}{9}
  2.       -\frac{2}{9 }
  3.       -\frac{1}{9}
  4.           \frac{1}{9}

คำตอบ 1

ข้อสอบO-Net

6.)  ถ้า x = -\frac{1}{2} เป็นรากของสมการ ax^{2}+3x-1 = 0   แล้ว รากอีกรากหนึ่งของสมการนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      -5
  2.     -\frac{1}{5}
  3.         \frac{1}{5}
  4.         5

คำตอบ 3

7.)  เซตคำตอบของอสมการ     4^{(2x^{2}-4x-5)}\leq \frac{1}{32}    คือเซตในข้อใดต่อไปนี้

  1.   [-\frac{5}{2},\frac{5}{2}]
  2.   [-\frac{-5}{2},1]
  3.   [-\frac{1}{2},1]
  4.   [-\frac{1}{2},\frac{5}{2}]

คำตอบ 4

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 50

 

1.)  (\frac{\sqrt{5}}{\sqrt{6}}-\frac{\sqrt{2}}{\sqrt{15}})^{2}   มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.      \frac{3}{10}
  2.      \frac{7}{10}
  3.      \sqrt{5}-2
  4.      \sqrt{6}-2

คำตอบ 1

2.)  ถ้า (\sqrt{\frac{8}{125}})^{4}=(\frac{16}{625})^{\frac{1}{x}}  แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.     \frac{3}{4}
  2.     \frac{2}{3}
  3.     \frac{3}2{}
  4.     \frac{4}{3}

คำตอบ 2

ข้อสอบO-Net

3.)  เซตคำตอบของอสมการ  -1\leq \sqrt{2}+\frac{x}{1-\sqrt{2}}\leq 1   คือเซตในข้อใดต่อไปนี้

 

  1.       [\sqrt{2}-1,1]
  2.       [\sqrt{2}-1,2]
  3.       [3-2\sqrt{2},1]
  4.       [3-2\sqrt{2} , 2]

คำตอบ 3

4.)  สมการในข้อใดต่อไปนี้ มีคำตอบที่เป็นจำนวนจริงมากกว่า 2 คำตอบ

 

  1.     (x-2)^2+1=0
  2.     (x^2+2)(x^2-1)=0
  3.     (x-1)^2(x^2+2)=0
  4.     (x^2-1)(x+2)^2=0

คำตอบ 4

5.)  ผลบวกของคำตอบทุกคำตอบของสมการ  x^{3}-2x = \left | x \right |   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

 

  1.     0
  2.    \sqrt{3}
  3.    \sqrt{3}-1
  4.    \sqrt{3}+1

คำตอบ 1

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 51

 

1.)  ค่าของ  \sqrt{(-2)^2}+(\frac{8^{\frac{1}{2}}+2\sqrt{2}}{\sqrt{32}})   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

  1.     -1
  2.      1
  3.      3
  4.      5

คำตอบ 3

ข้อสอบO-Net

2.)   กำหนดให้ค่าประมาณที่ถูกต้องถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3 ของ \sqrt{3}  และ \sqrt{5} คือ  1.732  และ 2.236 ตามลำดับ

พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก.    2.235+1.731\leq \sqrt{5}+\sqrt{3}\leq 2.237+1.733

ข.    2.235-1.731\leq \sqrt{5}-\sqrt{3}\leq 2.237-1.733

ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1.   ถูกทั้ง 2 ข้อ
  2.   ก ถูก  ข ผิด
  3.   ก ผิด  ข ถูก
  4.   ผิดทั้ง 2 ข้อ

คำตอบ 1

4.)  พืจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. สมบัติการมีอินเวอร์สการบวกของจำนวนจริงกล่าวว่า

สำหรับจำนวนจริง a จะมีจำนวนจริง b ที่ b + a = 0 = a + b

ข. สมบัติการมีอินเวอร์สการคูณของจำนวนจริง กล่าวว่า

สำหรับจำนวนจริง a จะมีจำนวนจริง b ที่ ba = 1 = ab

ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง

  1. ถูกทั้ง 2 ข้อ
  2. ก  ถูก ข ผิด
  3. ก  ผิด ข ถูก
  4. ผิดทั้ง 2 ข้อ

คำตอบ 1 

ก.จริง เพราะ ยกตัวอย่าง a = 1 ตัวที่บวกกับ 1 แล้วได้ 0 คือ -1 นั่นคือ -1 เป็นอินเวอร์การบวกของ 1 

ข. จริง เพราะ สมมติให้ a = 2 ตัวที่คูณกับ 2 แล้วได้ 1 คือ \frac{1}{2}  นั่นคือ \frac{1}{2} เป็นอินเวอร์สการคูณของ 2 

จึงสรุปได้ว่า ก และ ข ถูก

**คำว่า “มี” แปลว่าอาจจะมีแค่ตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได้ ถ้าเรายกตัวอย่างมาได้สัก 1 ตัวอย่างที่เป็นจริงก็ถือว่า ข้อความนั้นเป็นจริง**

แต่ต้องระวัง ถ้าเจอคำว่า”ทุกๆ” หรือตำว่า “แต่ละตัว” การที่เราจะบอกว่าทุกตัวมันจริงคงไม่ไหวเพราะมันอาจจะมีจำนวนมาก ดังนั้นน้องๆควรยกตัวอย่างมาค้านว่าข้อความนั้นเป็นเท็จจะง่ายกว่า 

 

5.)   พิจารณาสมการ \left | x-7 \right |=6  ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ

  1. คำตอบหนึ่งของสมการมีค่าระหว่าง 10 และ 15
  2. ผลบวกของคำตอบทั้งหมดของสมการมีค่าเท่ากับ 14
  3. สมการนี้มีคำตอบมากกว่า 2 คำตอบ
  4. ใบบรรดาคำตอบทั้งหมดของสมการ คำตอบที่มีค่าน้อยที่สุดมีค่าน้อยกว่า 3

คำตอบ 3

 

ข้อสอบ O-Net เรื่องจำนวนจริง ปี 52

 

1.)  พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. จำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบบางจำนวนเป็นจำนวนอตรรกยะ

ข. จำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบบางจำนวนเป็นจำนวนตรรกยะ

ข้อใดถูกต้อง

  1. ก  และ ข
  2. ก เท่านั้น
  3. ข เท่านั้น
  4. ก และ ข ผิด

คำตอบ 2 

ก. จากที่เรารู้อยู่แล้วว่าทศนิยมไม่รู้จบเป็นจำนวนอตรรกยะ ข้อความนี้จึงถูกต้อง

ข. ผิด เพราะจำนวนตรรกยะคือจำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มได้ แต่ทศนิยมไม่รู้จบไม่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มได้ ดังนั้นจึงไม่มีจำนวนตรรกยะใดที่เป็นจำนวนที่เป็นทศนิยมไม่รู้จบ

 

2.)  ผลเฉลยของสมการ 2\left | 5-x \right |=1  อยู่ในช่วงใด

  1.   (-10, -5)
  2.   (-6, -4)
  3.   (-4, 5)
  4.   (-3, 6)

คำตอบ 4

3.)  ถ้า \frac{3}{4} เป็นผลเฉลยหนึ่งของสมการ 4x^2+bx-6 = 0  เมื่อ b เป็นจำนวนจริงแล้ว อีกผลเฉลยหนึ่งของสมการนี้มีค่าตรงกับข้อใด

  1.   -2
  2.   -\frac{1}{2}
  3.     \frac{1}{2}
  4.    2

คำตอบ  1

4.)  ข้อใดมีค่าต่างจากข้ออื่น

  1.    (-1)^0
  2.    (-1)^{0.2}
  3.    (-1)^{0.4}
  4.    (-1)^{0.8}

คำตอบ 2

5.)  ( \left | 4\sqrt{3}-5\sqrt{2} \right | -\left | 3\sqrt{5}-5\sqrt{2} \right |+\left | 4\sqrt{3}-3\sqrt{5} \right |)^2   เท่ากับข้อใด

  1.    0
  2.    180
  3.    192
  4.    200

คำตอบ 1

วิดีโอ ข้อสอบO-Net เรื่องจำนวนจริง

 

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

คำซ้ำคืออะไร เรียนรู้และเข้าใจหลักการสร้างคำอย่างง่าย

  จากที่ได้เรียนเรื่องการสร้างคำประสมและคำซ้อนไปแล้ว บทเรียนหลักภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้การสร้างคำอีกหนึ่งชนิดที่สำคัญไม่แพ้สองคำก่อนหน้า นั่นก็คือ คำซ้ำ นั่นเองค่ะ คำซ้ำคืออะไร มีวิธีสร้างคำได้อย่างไรบ้าง วันนี้เราไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   คำซ้ำ     คำซ้ำคืออะไร?   คำซ้ำ หมายถึง การสร้างคำขึ้นใหม่ โดยนำคำมูลซึ่งส่วนมากเป็นคำพยางค์เดียวมาซ้ำกันแล้วมีความหมายเปลี่ยนแปลงไป อาจเน้นหนักขึ้น หรือเบาลง

เรียนรู้เรื่อง ส่วนประกอบของประโยค

​ประโยค คือถ้อยคำต่าง ๆ ที่นำมาเรียงกันแล้วมีใจความสมบูรณ์ว่าใครกำลังทำอะไร ที่ไหน และเมื่อไหร่ บทเรียนในวันนี้ น้อง ๆ จะได้เรียนรู้เรื่อง ส่วนประกอบของประโยค เพื่อให้เข้าใจมากขึ้นว่าประโยคที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ประกอบด้วยอะไรบ้าง ไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ   ส่วนประกอบของประโยค   โดยทั่วไปประโยคจะมีอยู่ด้วยกัน 2 ภาค คือ ภาคประธานและภาคแสดง     ภาคประธาน คือ

กราฟแสดงคำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

บทความนี้ได้แนะนำการเขียน กราฟแสดงคำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  ซึ่งจะเชื่อมโยงกับสัญลักษณ์ของอสมการทั้ง 5 สัญลักษณ์ คือ มากกว่า (>), น้อยกว่า (<), มากกว่าหรือเท่ากับ (≥), น้อยกว่าหรือเท่ากับ (≤) และ ไม่ท่ากับ(≠) โดยเขียนแสดงบนเส้นจำนวน จุดทึบและจุดโปร่ง เราจะเลือกใช้จุดทึบ (•) และจุดโปร่ง (°) แทนสัญลักษณ์อสมการ ดังนี้ มากกว่า

M6 Phrasal Verbs

Phrasal Verbs 

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.6 ที่รักทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้กันเรื่อง “Phrasal Verbs“ กันนะคะ ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลด   ความหมาย Phrasal Verbs  Phrasal Verbs คือ คำกริยา โดยเป็นกริยาที่มีคำอื่นๆ อย่างเช่น คำบุพบท (Preposition) ร่วมกันส่วนใหญ่แล้ว Phrasal Verbs จะบอกถึงการกระทำ มักจะเจอในชีวิตประจำวันในสถานการณ์ทั่วไป ไม่เป็นทางการมาก ข้อดีคือจะทำให้ภาษาใกล้เคียงกับเจ้าของภาษามากขึ้นนั่นเองจ้า

ตัวผกผันของความสัมพันธ์

ตัวผกผันของความสัมพันธ์

ตัวผกผันของความสัมพันธ์ ตัวผกผันของความสัมพันธ์ r คือความสัมพันธ์ใหม่ที่เกิดจากการสลับตำแหน่งของสมาชิกตัวหน้ากับสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับทุกคู่ในความสัมพันธ์ r เขียนแทนด้วย   ซึ่ง = {(y, x) : (x, y ) ∈ r} เช่น r = {(1, 2), (3, 4), (5,

ศึกษาตัวบทและข้อคิดที่แฝงอยู่ในสามัคคีเภทคำฉันท์

สามัคคีคือพลัง เป็นคำกล่าวคุ้นหูที่หลายคนคงจะเคยได้ยินคนพูดให้ฟังอยู่บ่อย ๆ เพราะไม่ว่าเราจะทำสิ่งใดร่วมกับใคร เพื่อให้งานนั้นสำเร็จและเป็นไปอย่างราบรื่น เราก็ต้องอาศัยความสามัคคีของคนในกลุ่มช่วยกันขับเคลื่อนให้ทุกอย่างเดินไปข้างหน้าได้ แต่บางครั้งคนเราก็อาจปล่อยให้อารมณ์มาบดบังจนทำให้แตกความสามัคคีกันอยู่บ่อย ๆ สามัคคีเภทคำฉันท์ เป็นวรรณคดีที่ว่าด้วยผลของการแตกความสามัคคี บทเรียนในวันนี้เราจะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ตัวบทเด่น ๆ ที่สำคัญ ถอดบทเรียนจากตัวละครและศึกษาคุณค่าที่แฝงอยู่ในเรื่องกันค่ะ ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนรู้วรรณคดีเรื่องนี้พร้อมกันเลย   ตัวบทเด่น ๆ ใน สามัคคีเภทคำฉันท์     ถอดความ

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1