Past Tense ที่มี Time Expressions ในประโยคบอกเล่าและปฏิเสธ

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

สวัสดีค่ะนักเรียน ม.2 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดูเทคนิคและวิธีการใช้ ” Past Tense ที่มี Time Expressions ในประโยคบอกเล่าและปฏิเสธ” ซึ่งเมื่อเล่าถึงเวลาในอดีตส่วนใหญ่แล้วเรามักเจอคำว่า yesterday (เมื่อวานนี้), 1998 (ปี ค.ศ. ที่ผ่านมานานแล้ว), last month (เดือนที่แล้ว)  และกลุ่มคำอื่นๆ ที่กำกับเวลาในอดีต ซึ่งเราจะเจอ Past Time ในกลุ่ม Past Tenses หรือ อดีตกาล ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย

มาเริ่มกับ Past Tenses

 

 

การพูดถึงเหตุการณ์ที่เกิดในอดีตนั้นสามารถพูดได้หลายรูปแบบ แต่จะพูดอย่างไรให้สอดคล้องกับบริบทนั้นย่อมสำคัญเช่นกัน และก่อนอื่นเราจะต้องรู้จักก่อนว่า การเล่าถึงเหตุการณ์ในอดีตนั้นเราสามารถเล่าได้หลายแบบ ครูจะขอยกตัวอย่างจากสถานการณ์การใช้ไปหาโครงสร้างและคำศัพท์ที่จำเป็นเพื่อให้เราเข้าใจความสำคัญของ Tense นั้นๆ ร่วมกับเทคนิค “Situational usage” บทสนทนาที่ใช้ ใน Past Tenses ทั้งสี่รูปแบบของประโยคบอกเล่า/ปฏิเสธ ไปลุยกันเลยเด้อ

 

Time Expressions ในประโยคบอกเล่า/ปฏิเสธ

 

Past Time (3)

 

อดีตกาล
(Past Tenses)
การใช้
(
Usage)
โครงสร้าง
(
Structure)
คำกำกับเวลา

 

1) Past Simple Tense ใช้กับเหตุการณ์ที่เราทำในอดีตย้ำว่า

เกิดขึ้นและจบลงไปแล้ว

 

 

Ex: บอกเล่า

“Subject + V.2 หรือ Verb –ed”

Daniel ate noodles yesterday.

แดเนียลกินก๋วยเตี๋ยวเมื่อวานนี้

 

ปฏิเสธ:

“Subject + did not + v.inf…”

 

Ex:

You did not go home last week.

คุณไม่ได้กลับบ้านสัปดาห์ที่แล้ว

เวลาในอดีต 1990

3 days ago  (สามวันที่แล้ว)
last  month (เดือนที่แล้ว)
yesterday (เมื่อวานนี้)
in 1997 (ในปี ค.ศ. 1997 ที่เป็นอดีตมาแล้ว)

2. Past Continuous  

บอกเล่า:

“Subject + was, were + V.ing…”

Ex: Albert Einstein was sitting under the apple tree.

แปล อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ กำลังนั่งอยู่
ใต้ต้นแอปเปิล

(ซึ่งเป็นเหตุการณ์ในอดีต)

 

 

โครงสร้างประโยคปฏิเสธ: Subject + was, were + “not” (wasn’t, weren’t) + V.ing…

Ex: 

Sophia did not like durian.
แปล โซเฟียไม่ชอบทุเรียน

 

 at the moment in the past
(ณ ขณะหนึ่งในอดีต)specific time in the past
(จุดๆหนึ่งที่เฉพาะเจาะจงในอดีต)
3. Past Perfect   บอกเล่า: Subject + had + V.3

Ex: I have had breakfast recently.

แปล ฉันพึ่งทานข้าวเช้าเมื่อครู่นี้เอง

 

ปฏิเสธ:

Subject + had not(hadn’t)+v.3

Ex:

The refugee hadn’t had breakfast since yesterday.
แปล ผู้อพยพยังไม่ได้ทานอาหารเช้าตั้งแต่เมื่อวานนี้

 

Previously (ก่อนหน้านี้)
just (พึ่งจะ)Before (ก่อน)
Recently (ไม่นานมานี้)Since (ตั้งแต่) + จุดๆหนึ่งของเวลาFor (เป็นเวลา) + ช่วงเวลาTill or until (จนกระทั่ง)
4. Past Perfect Continuous  

บอกเล่า:
Subject + had + been + V.ing

Ex:
I had been running since 5 a.m. till 6 a.m. this morning.

แปล ฉันได้วิ่งมาตั้งแต่ตีห้าถึงหกโมงเช้า (วิ่งแบบไม่หยุดเลย)

ปฏิเสธ:

Ex.

I hadn’t been studying hard like before.
ฉันไม่ได้ขยันเรียนเหมือนแต่ก่อนเลย

 

 Past Simple Tense

 

Pastime M2.png


โครงสร้างประโยคบอกเล่า: Subject + Verb 2 หรือ Verb เติม ed
ใช้กับเหตุการณ์ หรือการกระทำที่เกิดขึ้นและจบลงในอดีต มักมีคำหรือกลุ่มคำของอดีตมากำกับเช่น yesterday, ago, last year, last month, last time

 

Situation: Rosie went to school late.

Dan: Why did you go to school late yesterday Rosie? (ทำไมเมื่อวานโรซี่ไปโรงเรียนสายเหรอ)
Rosie: I was at the garage.(ฉันไปอู่ซ่อมรถมาน่ะ)
Dan: What happened? (เป็นอะไรหรือเปล่า)
Rosie: My motorbike didn’t work yesterday. (รถมอเตอร์ไซ์ฉันเสียเมื่อวานนี้)

จะสังเกตได้ว่า  yesterday (เมื่อวานนี้) คือคำบอกเวลาในอีต ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและจบลงไปแล้ว

สรุปโครงสร้างประโยคปฎิเสธ:  Subject + did + not (didn’t)+ V.inf…

เช่น I did not go to school yesterday. แปลว่า ฉันไม่ได้ไปโรงเรียนเมื่อวานนี้

 

Past Continuous Tense

 

Past Time (1)

 

โครงสร้างประโยคบอกเล่า: Subject + was, were + V.ing…
เช่น

She was writing her diary while I was playing games.
เธอกำลังเขียนไดอารี่อยู่ขณะที่ฉันกำลังเล่นเกม

โครงสร้างประโยคปฎิเสธ: Subject + was, were + “not” (wasn’t, weren’t) + V.ing…

เช่น

Danniel was not paying attention to the class while a teacher was teaching.
แดเนียลไม่ตั้งใจเรียนขณะที่ครูกำลังสอนอยู่

สรุปหลักการใช้ Past Continuous:

1) ใช้ร่วมกับ Past Simple Tense เมื่อมีเหตุการณ์ หรือการกระทำ 2 อย่างเกิดขึ้นไม่พร้อมกันในอดีต

  • Past Simple Tense ใช้กับเหตุการณ์สั้นๆ ที่เกิดขึ้นทีหลัง
  • Past Continuous Tense ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อน  และ กำลังดำเนินอยู่ ณ ขณะนั้น

Situation: While Dazy was watching a Netflix, her mom arrived at the door.
Mom: Knock knock! Dazy, could you open the door? (ก้อกๆ เดซี่เปิดประตูให้แม่หน่อย)
Mom: (Complaining) why wasn’t she openning the door?  (แม่บ่น…ทำไมเธอถึงไม่เปิดประตู)
Dazy: Wait mom, I was waching a Netflix. (รอก่อนนะแม่ หนูกำลังดู Netflix อยู่)

 

2) อย่างที่กำลังดำเนินอยู่ในอดีตในเวลาเดียวกัน

Situation: Venus was playing her mobile phone, while her teaching was teaching.

Ohm: What were you doing Venus while your teacher was teaching?
(วีนัส เธอทำอะไรอยู่ตอนที่ครูกำลังสอน)
Venus: Um…I was playing on my mobile phone. (เอิ่ม ฉันเล่นโทรศัพท์อยู่นะ)
Ohm: No wonder why teacher was very mad at you. (ไม่น่าล่ะ ครูโกรธใหญ่เลย)

 

 

Past Perfect Tense

 

โครงสร้างประโยคปฏิเสธ: Subject + had not + V.3 (Past Participle)…

Past Perfect

 

ทวนโครงสร้างประโยคบอกเล่า ในโครงสร้าง Subject + had + Past participle (V.3)
ใช้กับเหตุการณ์ หรือการกระทำ 2 อย่างที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดแล้วลงในอดีต

  • เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนให้ใช้ Past Perfect Tense
  • เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทีหลังให้ใช้ Past Simple Tense

Situation: Uncle Roger is talking to his grandmother, Mali

Uncle Roger: Had you been to the USA in 90s?
(คุณเคยไปประเทศสหรัฐอเมริกาในยุค90มั้ย)
Granny Mali:
Nope, I hadn’t been to the USA during that time.
(ฉันไม่เคยไปอเมริกาในยุค 90 เลย)
Granny Mali: I had been to Italy, Sweden, Denmark, and Singapore.

(ฉันเคยไปประเทศอิตาลี สวีเดน เดนมาร์ก และสิงคโปร์)
Uncle Roger: I got jealous already!
(อิจฉาคุณยายจังเลยครับ)

Past Perfect Continuous Tense

 

Past Time

 

โครงสร้างประโยคบอกเล่า: Subject + had + been + V. ing
โครงสร้างประโยคปฏิเสธ: Subject + had not (hadn’t) + been +V.ing

Past Perfect Continuous Tense  จะเน้นความต่อเนื่องของเหตุการณ์
หรือการกระทำได้ดีกว่า Past Perfect Tense

 

Situation: Interviewing Mark Zuckerberg, the co-founder of Facebook

Interviewer: What’s your secret of becoming so “successful”?

= ความลับที่ทำให้คุณประสบความสำเร็จคืออะไร

Mark Zuckerberg: I had been working hard on my dream.
= ผมทำงานหนักเพื่อความฝันของผม (อย่างต่อเนื่องไม่หยุดหย่อน หรือพักเลย)


Interviewer: Why had you been working hard like that?
= ทำไมคุณถึงทำงานหนักแบบนั้น

Mark Zuckerberg: Because I hadn’t been living in a good life-quality like today.
= เพราะว่าเมื่อก่อนผมไม่ได้มีคุณภาพชีวิตที่ดีแบบทุกวันนี้

 

ขอให้สนุกกับการทบทวนบทเรียนกันนะคะ อย่าลืมทบทวนบทเรียนเรื่อง Past Simple Tense กับวีดีโอด้านล่างนะคะ ซึ่งทั้งอัลบั้มนี้มีให้ทบทวนบทเรียนเกือบทุกเรื่องในภาษาอังกฤษบนยูทูปฟรีๆ เลยจร้า กดดูวีดีโอทบทวนสนุกๆได้ที่ด้านล่างเลยเด้อ

Have a good day! ขอให้มีวันที่ดีค่า
See you next time! แล้วเจอกันค่า

 

 

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

มารยาทในการพูด

มารยาทในการพูดที่ดีมีอะไรบ้างที่เราควรรู้

บทนำ   สวัสดีน้อง ๆ ทุกคน กลับเข้ามาสู่เนื้อหาสาระดี ๆ อีกครั้ง โดยวันนี้จะเป็นเนื้อหาที่เกี่ยวกับมารยาทในการพูด และจะต่อจากเนื้อหาเมื่อครั้งที่แล้วอย่างเรื่องมารยาทในการฟัง ซึ่งถือเป็นบทเรียนที่มีประโยชน์มาก ๆ เมื่อเราต้องไปพูดต่อหน้าที่สาธารณะ หรือพูดคุยสนทนากับเพื่อน ๆ คุณครู พ่อแม่ของเรา เพื่อให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพ เราก็ควรเรียนรู้มารยาทที่ดีในการพูดไปด้วย ถ้าน้อง ๆ ทุกคนพร้อมแล้วมาดูกันว่าวันนี้จะมีเนื้อหาอะไรมาฝากกันบ้าง     การพูด

บทพากย์เอราวัณ

ศึกษาตัวบทที่น่าสนใจในเรื่องบทพากย์เอราวัณ

บทนำ สวัสดีน้อง ๆ ที่น่ารักทุกคน กลับเข้าสู่เนื้อหาภาษาไทยสนุก ๆ อีกแล้ว สำหรับเรื่องที่เราจะมาเรียนรู้กันวันนี้ เป็นบทเรียนที่ต่อจากครั้งที่แล้วเรื่องความเป็นมาของวรรณคดีอย่างบทพากย์เอราวัณ ซึ่งครั้งนี้เราจะมาศึกษาตัวบทที่น่าสนใจในเรื่องนี้กัน ถ้าน้อง ๆ คนไหนพร้อมแล้วก็เตรียมตัวเข้าสู่เนื้อหากันได้เลย ศึกษาตัวบทที่น่าสนใจ คำศัพท์ กายิน         หมายถึง    กาย, ร่างกาย อมรินทร์   

ฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่ง

ฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่ง ฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่ง เป็นการส่งสมาชิกจากของเซตหนึ่งเรียกเซตนั้นว่าโดเมน ส่งไปให้สมาชิกอีกเซตหนึ่งเซตนั้นเรียกว่าเรนจ์ จากบทความก่อนหน้าเราได้พูดถึงฟังก์ชันและการส่งสมาชิกในเซตไปแล้วบางส่วน ในบทความนี้เราจะได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่งมากขึ้น จากที่เรารู้ว่าเซตของคู่อันดับเซตหนึ่งจะเป็นฟังก์ชันได้นั้น สมาชิกตัวหน้าต้องไปเหมือนกัน แต่ฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่งเป็นการกำหนดขอบเขตให้ฟังก์ชันนั้นแคปลงกว่าเดิม เช่น {(1, a), (2, b), (3, a), (4, c)}  จากเซตของคู่อันดับเราสมารถตอบได้เลยว่าเป็นฟังก์ชัน เพราะสมาชิกตัวหน้าไม่เหมือนกัน แต่ฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่ง คือการที่เรามีเซต 2 เซต แล้วเราส่งสมาชิกในเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่ง

การเขียนคำอวยพร

การเขียนคำอวยพร เขียนอย่างไรให้เหมาะสมกับผู้รับ

  วัฒนธรรมเป็นส่วนหนึ่งของสังคม และภาษาก็เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม คนเราทุกคนต่างต้องการในสิ่งดีงาม เมื่อถึงโอกาสสำคัญอย่างวันเกิด วันแต่งงาน วันขึ้นบ้านใหม่ จึงต้องการคำอวยพรที่สร้างกำลังใจ และเป็นสิริมงคลแก่ตัวเอง คำอวยพรจึงเป็นเหมือนสิ่งสะท้อนวัฒนธรรม ที่คนใช้สื่อสาร ถ่ายทอดเพื่อมอบสิ่งดี ๆ ให้แก่กัน บทเรียนในวันนี้ น้อง ๆ จะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ การเขียนคำอวยพร เราไปดูพร้อมกันเลยค่ะว่าการเขียนประเภทนี้จะมีลักษณะและวิธีอย่างไรบ้าง   การเขียนคำอวยพร   ความหมายของคำอวยพร คำอวยพร

โคลงโลกนิติ

ศึกษาตัวบทและคุณค่าที่แฝงอยู่ในโคลงโลกนิติ

หลังจากที่ได้เรียนรู้ความเป็นมาและเนื้อหาในโคลงโลกนิติกันแล้ว น้อง ๆ ก็คงจะอยากรู้กันแล้วใช่ไหมคะว่าตัวบทในโคลงโลกนิติที่มีอยู่มากมายนั้น มีตัวบทไหนที่เด่น ๆ กันบ้าง วันนี้เรามาศึกษาตัวบทที่น่าสนใจเพื่อทำความเข้าใจถึงคติธรรมและคุณค่าที่อยู่ในเรื่องกันค่ะ โคลงโลกนิติ โคลงโลกนิติเป็นบทประพันธ์ที่มีคำสอนมากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการคบเพื่อน การปฏิบัติตัวกับพ่อแม่ หรือแม้แต่การดำเนินชีวิตในแต่ละวัน เรามาดูตัวบทเด่น ๆ ที่ควรรู้กันทีละบทเลยนะคะว่าแต่ละบทสอนเรื่องอะไรบ้าง   ศึกษาตัวบท     ความหมาย กล่าวถึงปลาร้าที่มีกลิ่นเหม็น และใบคา แม้ใบคาจะเป็นใบไม้ที่ไม่มีกลิ่นเฉพาะตัว แต่เมื่อนำไปห่อปลาร้าก็จะทำให้มีกลิ่นเหม็นจากปลาร้าติดไปด้วย

เรียนออนไลน์ คณิตศาสตร์

กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร (จุดตัดแกน x และจุดตัดแกน y)

เนื้อหาในบทนี้จะเป็นการกล่าวถึง การแสดงความสัมพันธ์ของปริมาณสองปริมาณแล้วนำมาเขียนแสดงเป็นกราฟโดยใช้วิธีการหาจุดตัดของแกน x และ แกน y

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1