- นักเรียนสามารถได้รับคะแนนสอบที่ดีจากการสอบที่โรงเรียน และยังสามารถทำความเข้าใจกับหัวข้อการเรียนได้อย่างง่ายดาย
- ปลดล็อคคลิปทุกคลิป แบบฝึกหัด และฟีเจอร์แบบฝึกหัด
ติว ป.5 เรียนพิเศษ ออนไลน์

ผลตอบรับจากผู้ใช้งานจริง





















รีวิวจากผู้ใช้





















ประวัติการไลฟ์สอนยอดนิยม
สามารถกดย้อนดูคลิปที่เคยผ่านการไลฟ์สอนไปแล้ว เพื่อทบทวนอีกครั้ง
ติวสอบเข้า ม.1 โรงเรียนชื่อดัง วิทยาศาสตร์ ตอนที่ 1 สิ่งมีชีวิตรอบตัว
12 November 2024- + วิทยาศาสตร์
- + ครูนนท์
- + ป. 4
- + ป. 5
- + ป. 6
ติวสอบเข้า ม.1 โรงเรียนชื่อดัง คณิตศาสตร์ ตอนที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น+รูปทรง (พื้นฐาน)
12 November 2024- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูดาว
- + ป. 4
- + ป. 5
- + ป. 6
ติวสอบเข้า ม.1 โรงเรียนชื่อดัง อังกฤษ Ep.2 Tense1
18 November 2024- + ภาษาอังกฤษ
- + ครูปุ๋งปิ๋ง
- + ป. 4
- + ป. 5
- + ป. 6
ติวสอบเข้า ม.1 โรงเรียนชื่อดัง คณิตศาสตร์ ตอนที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น+รูปทรง (เสริม)
13 November 2024- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูเจ๊หนุ่ม
- + ป. 4
- + ป. 5
- + ป. 6
เตรียมสอบเข้า ม.1 โรงเรียนชื่อดัง (ห้องพิเศษ SMTE, Gifted, EP)
5 March 2025- + วิทยาศาสตร์
- + ครูนนท์
- + ป. 4
- + ป. 5
- + ป. 6
เตรียมสอบเข้า ม.1 โรงเรียนชื่อดัง (ห้องพิเศษ SMTE, Gifted)
6 March 2025- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูเจ๊หนุ่ม
- + ป. 4
- + ป. 5
- + ป. 6
เตรียมสอบเข้า ม.1 โรงเรียนชั้นนำ ตอนที่ 1 (ห้องปกติ)
19 March 2025- + วิทยาศาสตร์
- + ครูนนท์
- + ป. 4
- + ป. 5
- + ป. 6
ตะลุยพรีเทสวิทยาศาสตร์ สอบเข้าสตรีวิทยา ม.1 ปี 2568 ตอนที่ 1 (ห้องพิเศษ)
22 January 2025- + วิทยาศาสตร์
- + ครูนนท์
- + ป. 4
- + ป. 5
- + ป. 6
ตะลุยพรีเทสคณิตศาสตร์ สอบเข้าบดินทรเดชา ม.1 ปี 2568 ตอนที่ 1 (ห้องพิเศษ)
20 February 2025- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูเจ๊หนุ่ม
- + ป. 4
- + ป. 5
- + ป. 6
ตะลุยพรีเทสวิทยาศาสตร์ สอบเข้าบดินทรเดชา ม.1 ปี 2568 ตอนที่ 1 (ห้องพิเศษ)
19 February 2025- + วิทยาศาสตร์
- + ครูนนท์
- + ป. 4
- + ป. 5
- + ป. 6

ดูได้ทั้ง 4 รายวิชา

2,000+ คลิป และแบบทดสอบกว่า 4,000+ ข้อ
อัพเดทคลิปใหม่ๆ ทุกสัปดาห์ และคุณสามารถดูคลิปอะไรก็ได้ที่คุณต้องการจากเนื้อหาของเรา

บทเรียนแบบโต้ตอบ

แข่งขันกับเพื่อนๆ

กราฟการเรียนรู้

ใช้ได้ทุกอุปกรณ์
ผลการสอบเข้ามัธยม












บริการของเรา
ทดลองใช้งานฟรี 3 วัน เพื่อเข้าถึงบริการของเราได้แบบไม่จำกัดวิชา!
มีบทเรียนมากกว่า 2,000+ คลิป 4,000+ แบบฝึกหัด และ ดูประวัติการไลฟ์สอน ได้ไม่จำกัด บนทุกอุปกรณ์
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
- บัตรเครดิต
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
- บัตรเครดิต
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
บทความ ป.5

ภาษาถิ่นใต้ มรดกทางวัฒณธรรมที่ควรค่าแก่การศึกษา
ภาษาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม โดยสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมผ่านภาษามากที่สุด ก็คือ การมีอยู่ของภาษาถิ่น ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้พูดติดต่อสื่อสารตามท้องถิ่นต่าง ๆ เพื่อให้คนในพื้นที่เข้าใจกัน ประเทศไทยมีทั้งหมด 6 ภาค ภาษาถิ่นที่เด่นชัดที่สุดจะแบ่งออกเป็นภาษาถิ่นภาคกลางซึ่งครอบคลุมไปถึงภาคตะวันตะวันตก อาจมีแตกต่างบ้างในเรื่องของคำศัพท์บางคำและสำเนียง ภาษาถิ่นเหนือและภาษาถิ่นอีสาน ที่ได้รับอิทธิพลจากประเทศเพื่อนบ้าน และด้วยภูมิภาคที่อยู่ใกล้กันทำให้บางคำก็ใช้ด้วยกัน และสุดท้าย ภาษาถิ่นใต้ ที่ค่อนข้างจะแตกต่างกับภาษาถิ่นอื่น ๆ แต่จะมีลักษณะ และมีคำศัพท์น่ารู้อะไรบ้างนั้น เราไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ ภาษาถิ่นใต้

การพูดรายงานหน้าชั้น พูดอย่างไรให้ได้ใจผู้ฟัง
การพูดรายงานหน้าชั้น เป็นการแสดงผลงานศึกษาค้นคว้าโดยนำมาบอกเล่า ชี้แจง นำเสนอให้ผู้อื่นได้ทราบด้วย การพูดรายงานจึงมีความสำคัญในฐานะที่เป็นการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด บทเรียนในวันนี้เราจะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้กันว่าหลักในการพูดรายงานหน้าชั้นนั้นมีอะไรบ้าง พูดอย่างไรจึงจะดึงดูดผู้ฟัง รวมไปถึงมารยาทขณะที่ออกไปพูดด้วย จะเป็นอย่างไรบ้างนั้นเราไปดูกันเลยค่ะ หลักการพูดรายงานหน้าชั้น 1. กล่าวทักทายผู้ฟัง แนะนำผู้ร่วมงาน หัวข้อ จุดประสงค์ การทักทายถือเป็นการสร้างความประทับใจแรกให้แก่ผู้ฟัง ไม่ว่าหัวข้อที่เราจะนำมาพูดหน้าชั้นคืออะไร แต่หากเราพูดเนื้อหาขึ้นมาเลยแบบไม่มีปี่ไม่ขลุ่ย ก็อาจจะทำให้ผู้ฟังไม่อยากฟัง หรือคิดว่าการพูดหน้าชั้นของเราเป็นเรื่องน่าเบื่อ

เรียนรู้หลักการสร้างคำสมาสแบบสมาส และคำสมาสแบบสนธิ
บทนำ คำสมาส และคำสนธิ ถือว่าเป็นหนึ่งบทเรียนในหลักภาษาไทยของระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่หลายคนมักมองว่าเป็นเรื่องยาก และปราบเซียนในการสอบสุด ๆ เนื่องจากว่าเราจะต้องมีพื้นฐานความเข้าใจเรื่อง คำบาลี สันสกฤตเพื่อให้สามารถแยกแยะคำ หรือสร้างคำใหม่ได้ รวมไปถึงต้องจำหลักการอ่านเชื่อมเสียงแบบต่าง ๆ จึงทำให้ใครหลายคนรู้สึกว่ามันยากมาก แต่จริง ๆ แล้วน้อง ๆ หลายคนอาจเคยได้ยินหลักการจำที่ว่า “คำสมาสนำมาชน สนธินำมาเชื่อม” ซึ่งเป็นวิธีที่น้อง ๆ ควรจะใช้เป็นแนวทางในการจำอย่างเข้าใจ ดังนั้น เพื่อเป็นการเรียนรู้เรื่องคำสมาสแบบสมาส และคำสมาสแบบสนธิให้เข้าใจมากขึ้น