Verb to Be : พื้นฐานสำคัญในภาษาอังกฤษ

สวัสดีน้องๆ ม. 1 ทุกคนนะครับ วันนี้เรามาเรียนเรื่องสั้นๆ แต่มีประโยชน์มากๆ อย่าง Verb to be กันครับ ถ้าพร้อมแล้วไปเริ่มกันเลยครับ
Verb to be

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

Verb “Be”

ในภาษาอังกฤษนั้น Verb be หรือ Verb to be เป็นกริยากลุ่มหนึ่งที่สำคัญมากในภาษาอังกฤษ ใช้เพื่อบอกข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับประธานของประโยค เช่น ข้อมูลต่างๆ เช่น อายุ อาชีพ สัญชาติ ลักษณะนิสัย ซึ่งโดยทั่วไปมักจะแปลได้ว่า เป็น อยู่ หรือคือ นั่นเองครับ ซึ่งรูปดั้งเดิม (Infinitive) ของมันก็คือ “be” นั่นเอง แต่จะเปลี่ยนไปตาม Tense และประธาน ตามตารางดังต่อไปนี้ครับ

 

ประเภทของ V. to be แบ่งตาม Tense และประธานของประโยค

 

Infinitive Form

Present Form

การใช้

Past Form การใช้ Past Participle Form การใช้
 

 

 

 

 

be

 

is

 

ใช้กับประธานเอกพจน์, He, She, It และ ชื่อคน 1 คน

 

 

 

was

 

 

ใช้กับประธานเอกพจน์ทุกตัว รวมถึง I

 

 

 

 

 

been

 

 

 

มักใช้ตามหลัง have ใน Perfect Tenseและนำหน้ากริยาที่เติม -ing ใน Perfect Continuous Tense

 

am

 

 

ใช้กับประธาน I

 

 

are

 

 

ใช้กับประธานพหูพจน์, We, They, และชื่อคน 2 คนหรือมากกว่า

 

were

 

ใช้กับประธานพหูพจน์ทุกตัว

 

ตัวอย่างการใช้ V. to be

โดยจะขอเน้นไปที่ Present Tense ก่อนนะครับ

  • ใช้ในการบอกชื่อ อายุ อาชีพ สัญชาติ

I am Jack.
(ฉันชื่อแจ็ค)

She is 13 years old.
(ฉันอายุ 13 ปี)

Patrick is a doctor.
(แพทริคเป็นหมอ)

We are American.
(พวกเราเป็นคนอเมริกา)

verb to be

 

  • ใช้ในการบรรยายรูปร่าง ลักษณะนิสัย สถานะ ความรู้สึก

He is tall and handsome.
(เขาสูงและหล่อ)

My grandparents are kind and generous.
(ปู่ย่าของฉันใจดีและมีเมตตา)

Kate is single.
(เคทโสด)

They are really happy.
(พวกเขามีความสุขมาก)

verb be example

 

เป็นอย่างไรกันบ้างครับน้องๆ สำหรับการใช้ Verb to be ในรูปแบบต่างๆ ไม่ยากเลยใช่มั้ยล่ะครับ และหากน้องๆ ต้องการทำความเข้าใจเพิ่มเติมก็สามารถเข้าไปดูวิดีโอจากช่อง Nock Academy ได้เลยครับ

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

การนำเสนอข้อมูลเเละเเปลความหมายข้อมูลด้วยเเผนภูมิวงกลม

การนำเสนอข้อมูลเเละเเปลความหมายข้อมูลด้วยเเผนภูมิวงกลม การนำเสนอข้อมูลเเละเเปลความหมายข้อมูลด้วยเเผนภูมิวงกลม เป็นการนำเสนอข้อมูลโดยการเเบ่งพื้นที่ของวงกลมออกเป็นส่วน ๆ เเละมีขนาดของสัดส่วนตามข้อมูลที่ได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ การนำเสนอด้วยเเผนภูมิวงกลมเป็นการนำเสนอข้อมูลที่มีอยู่ได้อย่างน่าสนใจ สามารถวิเคราะห์เเละเเปรข้อมูลได้ง่ายขึ้น การสร้างแผนภูมิรูปวงกลมเพื่อนำเสนอข้อมูล การสร้างแผนภูมิวงกลม ทำได้โดยการเเบ่งมุมรอบจุดศูนย์กลางของวงกลมที่มีขนาด 360 องศา ออกเป็นส่วน ๆ ที่เรียกว่า มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลม ตามขนาดที่ได้จากการเทียบส่วนกับปริมาณทั้งหมดในข้อมูล มุมที่จุดศูนย์กลาง = (จำนวนที่สนใจ/จำนวนทั้งหมด) x 360 องศา ตัวอย่างการสร้างแผนภูมิวงกลม จากข้อมูลการสำรวจที่ได้เก็บรวมรวบข้อมูลจากนักเรียนทั้งหมด 200

เส้นตรง

เส้นตรง

เส้นตรง เส้นตรง มีสมการรูปแบบทั่วไปคือ Ax + By + C = 0 และสมการรูปแบบมาตรฐานของเส้นตรงจะเขียนอยู่ในรูป y = mx + C ซึ่งจะอยู่ในหัวข้อ “สมการเส้นตรง” เส้นตรงหนึ่งเส้นประกอบไปด้วยจุดหลายจุด ซึ่งจุดเหล่านี้จะทำให้เราสามารถหาความชันได้ และเมื่อเราทราบความชันก็จะสามารถหาสมการเส้นตรงได้นั่นเอง ความชันของเส้นตรง ความชันของเส้นตรง ส่วนใหญ่นิยมใช้ m

การอ่านจับใจความ

การอ่านจับใจความ เทคนิคที่จะช่วยให้เข้าใจเนื้อหามากขึ้น

ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นได้บ่อยเวลาที่เราอ่านหนังสือเรียนจบแต่เมื่อถึงเวลาไปสอนกลับจำเนื้อหาที่อ่านมาไม่ได้เลย เพราะแท้จริงการอ่านเฉย ๆ ไม่ได้ช่วยให้เราจำเนื้อหาได้ แต่สิ่งที่จะช่วยให้เราได้เข้าใจแก่นของเรื่องที่อ่านจริง ๆ ก็คือการจับใจความสำคัญของเรื่องให้ได้นั่นเองค่ะ บทเรียนในวันนี้จะพาน้องไปเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่อง การอ่านจับใจความ เพื่อช่วยให้สามารถจับประเด็นของเนื้อหาได้ โดยที่ไม่ต้องท่องจำให้เสียเวลาเลยค่ะ จะเป็นอย่างไรบ้างนั้น ไปดูพร้อมกันเลยค่ะ   การอ่านจับใจความ   เป็นการอ่านเพื่อจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสำคัญหลักของข้อความ หรือเรื่องที่อ่าน เป็นข้อความที่คลุมข้อความอื่น ๆ ในย่อหน้าหนึ่ง ๆ ไว้ทั้งหมด  

หลักการใช้ Simple Present Tense+ Present Continuous Tense

สวัสดีนักเรียนชั้นม.1 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง” หลักการใช้ Simple Present Tense+ Present Continuous Tense” พร้อมทั้งตัวอย่างสถานการณ์ใกล้ตัว และเทคนิคการจำและนำ Tense ไปใช้กันจร้า ซึ่ง Simple Present Tenseและ Present Continuous Tense นั้นมีสิ่งที่เหมือนกันคือ อยู่ในรูปปัจจุบัน (Present) เหมือนกัน

Imperative for Advice

Imperative for Advice: การให้คำแนะนำ

สวัสดีน้องๆ ป. 6 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาเรียนเรื่องง่ายๆ อย่าง Imperative for Advice กัน จะง่ายขนาดไหนเราลองไปดูกันเลยครับ

การทดลองสุ่มและเหตุการณ์

บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ซึ่งได้กล่าวถึงในลักษณะของความหมายและยกตัวอย่างประกอบ และอธิบายอย่างละเอียด ซึ่งก่อนจะเรียนเรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ น้องๆสามารถทบทวน ความน่าจะเป็น ได้ที่  ⇒⇒ ความน่าจะเป็น ⇐⇐ การทดลองสุ่ม การทดลองสุ่ม  คือ การทดลองซึ่งทราบว่าผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นอาจจะเป็นอะไรได้บ้าง  แต่ไม่สามารถบอกได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่าในแต่ละครั้งที่ทำการทดลอง  ผลที่เกิดขึ้นจากการทดลองจะเป็นอะไรในบรรดาผลลัพธ์ที่อาจเป็นไปได้เหล่านั้น  เช่น การโยนเหรียญซึ่งมีผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นได้ 2 แบบ คือ หัวหรือก้อย เมื่อโยนเหรียญ

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1