โจทย์ปัญหาการหารทศนิยม

บทความนี้เป็นเรื่องการวิเคราห์โจทย์ปัญหาการหารทศนิยม ซึ่งโจทย์ที่นำมาเป็นตัวอย่างจะประกอบด้วยการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา การเขียนประโยคสัญลักษณ์ รวมไปถึงการสดงวิธีทำ หวังว่าน้องๆจะสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ได้จริงกับโจทย์ปัญหาในห้องเรียน

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

เมื่อเราได้ทำความเข้าใจและเรียนรู้เนื้อหาของหลักการหารทศนิยมแล้วเรื่องต่อไปก็จะเป็นการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการหารทศนิยม เพราะจะได้นำเอาหลักการหารทศนิยมมาให้ในการแก้โจทย์ปัญหา ซึ่งโดยส่วนใหญ่โจทย์ปัญหาที่นำมาก็จะเป็นการยกตัวอย่างเหตุการณ์ในชีวิตจริง เช่นการหาค่าเฉลี่ย การแบ่งเงิน และการชั่ง ตวงและการวัด เป็นต้น

ตัวอย่างโจทย์ปัญหาการหารทศนิยม

ตัวอย่างที่ 1 

ข้อสอบคณิตศาสตร์ 60 ข้อ กำหนดเวลาทำข้อสอบ 100 นาที ด.ช.วิน ทำเสร็จภายในเวลา 90 นาที ด.ช.วิน ทำข้อสอบเฉลี่ยข้อละกี่นาที

วิเคราะห์โจทย์: โจทย์ต้องการทราบค่าเฉลี่ยของเวลาในการทำข้อสอบ ดังนั้นต้องนำ 90 ไปแบ่งให้ 60 ข้อ เท่าๆกัน คือหลักการหารทศนิยม

ประโยคสัญลักษณ์: 90 ÷ 60  = _______________

การหารทศนิยม

ตัวอย่างที่ 2

พี่หญิงมีน้ำผลไม้อยู่ 3 ลิตร แบ่งให้น้อง 7 คน เท่าๆกัน น้องแต่ละคนจะได้รับน้ำผลไม้คนละกี่มิลลิลิตร (ตอบเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง)

วิเคราะห์โจทย์: โจทย์กำหนดว่าให้แบ่งน้ำผลไม้ให้เท่าๆกัน ตรงกับหลักการหาร และหน่วยที่ต้องการทราบคือหน่วยมิลลิลิตร ดังนั้นต้องแปลงหน่วยที่โจทย์ให้มา จากลิตรเป็นมิลลิลิตรก่อนจึงจะนำไปแบ่งให้ท่าๆกันได้

ประโยคสัญลักษณ์: (3 x 1,000) ÷ 7  = _______________

โจทย์การหารทศนิยม

ตัวอย่างที่ 3

วันที่ 21 กันยายน 2563 เงิน 1 ดอลล่าร์สหรัฐ(USD) แลกเป็นเงินไทยได้ประมาณ 31 บาท วินัยนำเงิน 32,500  บาท แลกเป็นเงิน ดอลล่าร์สหรัฐได้ประมาณกี่ดอลลาร์ (ตอบเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง)

วิเคราะห์โจทย์: ต้องนำเงินไทยแลกทีละ 31.09 บาท ถึงจะได้เป็นเงิน 1 ดอลลาร์ ดังนั้นต้องแบ่งออกทีละเท่าๆกัน คือหลักการหาร

ประโยคสัญลักษณ์: 32,500 ÷ 31  = _______________

การหารทศนิยม

ตัวอย่างที่ 4

เสือเดินป่าจากจุดเริ่มต้นถึงจุดพักเป็นระยะทาง 6.5 กิโลเมตร จากนั้นดินต่ออีก 700 เมตร จนถึงน้ำตก ใช้เวลาเดินป่าจากจุดเริ่มต้นถึงน้ำตก 3 ชั่วโมง เสือใช้เวลาเดินป่าเฉลี่ยชั่วโมงละกี่กิโลเมตร

วิเคราะห์โจทย์: โจทย์ต้องการทราบค่าเฉลี่ยของเวลาในการเดินป่าของเสือ ดังนั้นต้องนำระยะทางทั้งหมด (แต่ต้องทำหน่วยให้เหมือนกันก่อนจึงจะสามารถนำไปแบ่งได้) ไปแบ่งให้วลา 3 ชั่วโมง เท่าๆกัน คือหลักการหาร 

ประโยคสัญลักษณ์: [6.5 + ( 700 ÷ 1,000 )] ÷ 3  = _______________

การหารทศนิยม

คลิปตัวอย่างเรื่องโจทย์ปัญหาการหารทศนิยม

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

ระบบจำนวนจริง

ระบบจำนวนจริง

ระบบจำนวนจริง “ระบบจำนวนจริง” เป็นรากฐานสำคัญของวิชาคณิตศาสตร์ ประกอบไปด้วยจำนวนต่างๆ ได้แก่ จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ จำนวนเต็ม จำนวนนับ โครงสร้าง ระบบจำนวนจริง มนุษย์เรามีความคิดเรื่องจำนวนและระบบการนับมาตั้งแต่โบราณ และจำนวนที่มนุษย์เรารู้จักเป็นอย่างแรกก็คือ จำนวนนับ การศึกษาระบบของจำนวนจึงใช้พื้นฐานของจำนวนนับในการสร้างจำนวนอื่นขึ้นมา จนกลายมาเป็นจำนวนจริง และจำนวนเชิงซ้อน (เนื้อหาม.5) ดังนั้น ถ้าน้องๆเข้าใจจำนวนนับแล้วน้องๆก็จะสามารถศึกษาระบบจำนวนอื่นๆได้ง่ายขึ้น   โครงสร้าง     จำนวนจริง จำนวนจริงคือจำนวนที่ประกอบไปด้วย

แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

บทความนี้จะเป็นการ แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ซึ่งอสมการ เป็นประโยคที่แสดงถึงการไม่เท่ากัน โดยมีวิธีการหาคำตอบคล้ายๆกับสมการ น้องๆสามารถศึกษาบทความเรื่องโจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เพื่อศึกษาวิธีการแก้สมการและนำมาประยุกต์ใช้กับการแก้อสมการเพิ่มเติมได้ที่  ⇒⇒โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว⇐⇐ แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว        อสมการ (inequality) เป็นประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของจำนวนโดยมีสัญลักษณ์  <, >, ≤, ≥ หรือ ≠  แสดงความสัมพันธ์         อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

ฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่ง

ฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่ง ฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่ง เป็นการส่งสมาชิกจากของเซตหนึ่งเรียกเซตนั้นว่าโดเมน ส่งไปให้สมาชิกอีกเซตหนึ่งเซตนั้นเรียกว่าเรนจ์ จากบทความก่อนหน้าเราได้พูดถึงฟังก์ชันและการส่งสมาชิกในเซตไปแล้วบางส่วน ในบทความนี้เราจะได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่งมากขึ้น จากที่เรารู้ว่าเซตของคู่อันดับเซตหนึ่งจะเป็นฟังก์ชันได้นั้น สมาชิกตัวหน้าต้องไปเหมือนกัน แต่ฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่งเป็นการกำหนดขอบเขตให้ฟังก์ชันนั้นแคปลงกว่าเดิม เช่น {(1, a), (2, b), (3, a), (4, c)}  จากเซตของคู่อันดับเราสมารถตอบได้เลยว่าเป็นฟังก์ชัน เพราะสมาชิกตัวหน้าไม่เหมือนกัน แต่ฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่ง คือการที่เรามีเซต 2 เซต แล้วเราส่งสมาชิกในเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่ง

Conjunctions of Time

Conjunctions of time

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.5 ที่รักทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้กันเรื่อง “การใช้ Conjunctions of time” กันนะคะ ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลด Conjunctions of time คืออะไร   Conjunctions of time คือ คำสันธานที่ถือเป็น Subordinating conjunctions รูปแบบหนึ่งที่เน้นบอกเวลา (time) เช่น whenever (

กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น ปก

กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น

บทความนี้จะเป็นการสอนวิธีการเขียน กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น ซึ่งทำได้โดยการหาความสัมพันธ์ของจำนวนสองจำนวน เขียนให้อยู่ในรูปคู่อันดับ และเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ข้างต้น ซึ่งน้องๆสามารถศึกษาการเขียนกราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้นเพิ่มเติมได้ที่  ⇒⇒ กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น ⇐⇐ คู่อันดับ กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น เขียนแสดงความเกี่ยวข้องของปริมาณสองปริมาณที่กำหนดให้ โดยความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณที่พบในชีวิตประจำวัน เช่น ปริมาณของน้ำประปาที่ใช้กับค่าน้ำ ปริมาณเวลาในการใช้โทรศัพท์กับค่าโทรศัพท์ ระยะทางที่โดยสารรถประจำทางปรับอากาศกับค่าโดยสาร ปริมาณของกระแสไฟฟ้ากับค่าไฟฟ้า เป็นต้น เราสามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์เหล่านี้ในรูปตาราง แผนภาพ คู่อันดับ รวมทั้งแสดงในรูปของกราฟได้ ซึ่งในหัวข้อนี้ เราจะทำความรู้จักกับคู่อันดับกันก่อนนะคะ

จำนวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะ

จำนวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะ

จำนวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะ บทความนี้จะทำให้น้องๆ รู้จัก จำนวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะ  น้องๆหลายคนคุ้นเคยกับจำนวนเฉพาะมาบ้างแล้ว แต่น้องๆทราบหรือไม่ว่า ตัวประกอบเฉพาะคืออะไร ซึ่งน้องๆจะได้เรียนรู้จากตัวอย่างที่ได้รวบรวมไว้ในบทความนี้ โดยได้นำเสนออกมาในรูปแบที่เข้าใจง่าย ทำให้น้องๆสนุกกับการเรียนคณิตศาสตร์ ซึ่งเนื้อหาในบทความนี้เป็นเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ก่อนอื่นเรามาทำความเข้าใจกับความหมายของ ตัวประกอบ  ตัวประกอบของจำนวนเต็มใด ๆ  คือ จำนวนที่หารจำนวนนั้นได้ลงตัว  ถ้าจำนวนที่ 2 หารได้ลงตัว เรียกว่า จำนวนคู่  ส่วนจำนวนที่

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1