วิธีใช้คำราชาศัพท์ ใช้อย่างไรให้เหมาะสม

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

ราชาศัพท์ เป็นถ้อยคำที่ใช้พูดกับพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ พระภิกษุสงฆ์ รวมถึงคำสุภาพที่ใช้กับคนทั่วไป การใช้คำราชาศัพท์ เป็นเรื่องที่มีปัญหาอยู่มาก เพราะการใช้ที่ไม่ถูกต้อง บทเรียนที่เราจะได้เรียนรู้กันในวันนี้น้อง ๆ จะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ วิธีใช้คำราชาศัพท์ สำหรับพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ ทั้งคำนาม และคำสรรพนาม ว่าเราควรแทนตัวเองหรือพระองค์อย่างไรให้ถูกต้อง ถ้าอยากรู้แล้ว ไปดูพร้อมกันเลยค่ะ

 

ลักษณะการใช้คำราชาศัพท์

 

คำราชาศัพท์มีไว้ใช้สำหรับคนธรรมดาทั่วไปพูดกับผู้ที่มีศักดิ์สูงกว่าอย่าง กษัตริย์ พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ์ แต่เวลากษัตริย์ พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ์จะไม่ใช้คำราชาศัพท์ยกย่องพระองค์เอง กษัตริย์จะใช้คำราชาศัพท์กับพระบรมวงศานุวงศ์ที่มีศักดิ์สูงกว่า เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ ลุง ป้า น้า อา และพี่

 

วิธีใช้คำราชาศัพท์

 

คำนามราชาศัพท์

ใช้เรียกเครือญาติ ร่างกาย เครื่องประดับ เครื่องแต่งกาย และของใช้

 

-คำนามหมวดเครือญาติ ร่างกาย เครื่องภาชนะใช้สอยต่าง ๆ จะนำหน้าด้วย “พระ”

 

คำราชาศัพท์

 

-คำนามหมวดเครื่องใช้ เครื่องประดับ นำด้วย “ฉลอง” หรือ “พระ”

 

วิธีใช้คำราชาศัพท์

 

คำสรรพนามราชาศัพท์

 

ใช้สำหรับบุคคลต่างระดับชั้นกัน

 

วิธีใช้คำราชาศัพท์

 

วิธีใช้คำราชาศัพท์ ให้ถูกต้อง

 

1. ขอบใจ ใช้สำหรับสุภาพชนเสมอกัน ผู้ใหญ่ใช้กับผู้น้อย พระราชวงศ์ ทรงใช้กับคนสามัญ และพระราชาทรงใช้กับประชาชน ขอบพระทัย ใช้สำหรับคนสามัญกล่าวกับพระราชวงศ์, พระราชวงศ์ทรงใช้กับพระราชวงศ์หรือพระราชาทรงใช้กับพระราชวงศ์

2. ในการถวายของแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ถ้าเป็นของเล็ก เช่น ช่อดอกไม้ หนังสือ เป็นต้น ใช้คำว่า ทูลเกล้าฯ ถวาย (ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย) ถ้าเป็นของใหญ่ เช่น ที่ดิน บ้าน เป็นต้น ใช้คำว่า น้อมเกล้าฯ ถวาย (น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย)

3. คำที่เป็นกริยา ไม่ต้องใช้ “ทรง” นำหน้า เช่น เสวย ไม่ใช้ พระเสวย หรือ บรรทม ไม่ใช้ พระบรรทม

 

คำราชาศัพท์ดูเป็นเรื่องยาก มีข้อบังคับที่เยอะกว่าคำสุภาพทั่วไป เพราะมีเรื่องของยศผู้ฟังเข้ามา ซึ่งจะต้องลำดับขั้นและเลือกใช้คำให้ถูก ทำให้บางครั้งก็ถูกใช้สลับกันอย่างไม่ถูกต้อง แต่ปัญหาเหล่านี้ก็แก้ได้ด้วยการเรียนรู้คำที่ถูกต้อง หมั่นทบทวนบทเรียนและฝึกทำแบบฝึกหัด และที่สำคัญที่สุดอย่าลืมติดตามการสอนของครูอุ้ม น้อง ๆ จะได้เห็นตัวอย่างของการใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น ไปชมกันเลยค่ะ

 

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

การให้เหตุผลแบบนิรนัย

การให้เหตุผลแบบนิรนัย

จากบทความที่แล้วเราได้เรียนเรื่องการให้เหตุผลแบบอุปนัยไปแล้ว บทความนี้พี่จะพูดถึงการให้เหตผลแบบนิรนัย ซึ่งแน่นอนว่ามักจะเจอในข้อสอบ O-Net แต่น้องๆไม่ต้องกังวลว่าจะทำไม่ได้ หากน้องได้อ่านบทความนี้แล้วน้องๆจะทำข้อสอบเกี่ยวกับการให้เหตุผลได้แน่นอนค่ะ

สมบัติการคูณจำนวนจริง

การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย คือ การนำประสบการณ์มาสรุปผล เช่น เราไปซื้อผลไม้แล้วเราชิมผลไม้ 2-3 ลูก ปรากฏว่า มีรสหวาน เราเลยสรุปว่าผลไม้ทั้งกองนั้นหวาน เป็นต้น ซึ่งการสรุปผลอาจจะเป็นจริงหรือเท็จก็ได้ อาจจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้สรุป ดังนั้น ผลสรุปไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน ตัวอย่างเช่น เหตุ เมื่อวานแป้งตั้งใจเรียน วันนี้แป้งตั้วใจเรียน ผลสรุป  พรุ่งนี้แป้งจะตั้งใจเรียน การให้เหตุผลแบบนี้ เหมือนเป็นการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นต่อไป ซึ่งการคาดคะเนนี้อาจจะจริงหรือเท็จก็ได้

ป6ทบทวน Past simple tense

ทบทวนการใช้ Past Simple ทั้งกับประโยคบอกเล่า/คำถาม/ปฏิเสธ

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.6 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไป ทบทวนการใช้ Past Simple ทั้งกับประโยคบอกเล่า/คำถาม/ปฏิเสธ กันน๊า Let’s go! ไปลุยกันเลยจ้า Past Simple Tense คืออะไร     Past Simple Tense คือโครงสร้างที่ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วจบลงไปแล้วในอดีต สิ่งสำคัญที่นักเรียนต้องรู้คือ กริยาช่องที่สองที่บอกความเป็นอดีต คำบอกเวลาในอดีตและโครงสร้างประโยคที่สำคัญๆ นั่นเอง

M6 Phrasal Verbs

Phrasal Verbs 

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.6 ที่รักทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้กันเรื่อง “Phrasal Verbs“ กันนะคะ ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลด   ความหมาย Phrasal Verbs  Phrasal Verbs คือ คำกริยา โดยเป็นกริยาที่มีคำอื่นๆ อย่างเช่น คำบุพบท (Preposition) ร่วมกันส่วนใหญ่แล้ว Phrasal Verbs จะบอกถึงการกระทำ มักจะเจอในชีวิตประจำวันในสถานการณ์ทั่วไป ไม่เป็นทางการมาก ข้อดีคือจะทำให้ภาษาใกล้เคียงกับเจ้าของภาษามากขึ้นนั่นเองจ้า

การอ่านแผนภูมิรูปวงกลม

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้การอ่านแผนภูมิรูปวงกลมรวมทั้งส่วนประกอบต่างที่ควรรู้เกี่ยวกับแผนภูมิรูปวงกลม

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1