เรียนรู้ความเหมือนที่แตกต่างของคำพ้อง

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

 

น้อง ๆ หลายคนคงจะเคยเห็นฝาแฝดกันมาบ้างใช่ไหมคะ แล้วรู้หรือเปล่าคะว่าในภาษาไทยเรานั้นก็มีฝาแฝดเหมือนกัน แต่ฝาแฝดนั้นถูกเรียกว่า คำพ้อง นั่นเองค่ะ หลายคำในภาษาไทยมีจุดที่เหมือนกันแต่ก็มีส่วนที่ต่างกันออกไปด้วย เพื่อไม่ให้สับสนว่าคำไหนคือคำไหน อ่านอย่างไร หมายความว่าอะไรกันแน่ วันนี้เราไปเรียนรู้เรื่องคำพ้องพร้อม ๆ กันเลยค่ะ

 

คำพ้อง

 

ความหมายของคำพ้อง

 

 

ประเภทของคำพ้อง

 

 

คำพ้องเสียง

คำพ้องเสียง หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนและมีความหมายไม่เหมือนกัน

 

คำพ้อง

 

ตัวอย่างประโยค

ฉันทำที่คั่นหนังสือตกไว้ตรงขั้นบันได

วันศุกร์แล้วฉันมีความสุขมาก

น้องสาวฉันหน้าตาน่ารัก

 

คำพ้องรูป

คำพ้องรูป หมายถึง คำที่เขียนเหมือนกันแต่อ่านออกเสียงและมีความหมายไม่เหมือนกัน

 

คำพ้อง

 

ข้อสังเกต

นอกจากจะมีคำพ้องรูปและพ้องเสียงแล้ว บางคำในภาษาไทยยังเป็นคำที่มีพ้องรูปและพ้องเสียงในคำเดียวแต่มีความหมายต่างออกไป

ตัวอย่างพ้องรูปพ้องเสียงที่มีความหมายต่างกัน

ฟัน หมายถึง ใช้ของมีคมฟาดลงไป และหมายถึง กระดูกซี่ ๆ ที่อยู่ในปาก

ขัน หมายถึง ภาชนะที่ใช้ตักน้ำ เสียงร้องของไก่ และการทำให้แน่น เช่น ขันนอตให้แน่น

 

คำพ้องความหมาย

คำพ้องความหมาย หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า คำไวพจน์ เป็นคำที่เขียนและอ่านออกเสียงไม่เหมือนกันแต่มีความหมายเหมือนกัน

 

ตัวอย่างคำไวพจน์

 

คำพ้อง

 

ชัฏ, ดง, พง, พงพนา, พงพี, พงไพร, พนัส, พนา, พนาดร, พนาลี, พนาวัน, อรัญญิก, อารัญ, อารัณย์, เถื่อน, ไพร, ไพรวัน, ไพรสัณฑ์

 

คำพ้อง

 

คคนางค์, คคนานต์, ทิฆัมพร, นภดล, นภา, นภาลัย, หาว, อัมพร, อากาศ, เวหา, เวหาศ, โพยม

 

 

คีรี, นคะ, นคินทร์, บรรพต, พนม, ภู, ภูผา, ศิขริน, ศิงขร, สิงขร, ไศล

 

 

ดุรงค์, พาชี, มโนมัย, สินธพ, อัศว, อัศวะ, อัสดร, อาชา, แสะ

 

 

ทวิช, ทวิชาชาติ, ทิชากร, ทิชาชาติ, บุหรง, ปักษา, ปักษิณ, ปักษี, วิหค, สกุณ, สกุณา, สกุณี, สุโนก

 

คำพ้อง

 

บุปผชาติ, บุปผา, บุษบง, บุษบัน, บุษบา, บุหงา, ผกา, ผกามาศ, มาลา, มาลี, สุคันธชาติ, สุมาลี, โกสุม

 

คำพ้อง

 

คงคา, ชลธาร, ชลธี, ชลาลัย, ชลาศัย, ชโลทร, นที, รัตนากร, สมุทร, สาคร, สาคเรศ, สินธุ, สินธุ์, อรรณพ

 

คำพ้อง

 

เป็นอย่างไรบ้างคะน้อง ๆ หลังจากที่ได้เรียนรู้เรื่องคำพ้องไปแล้ว คำพ้องมีความสำคัญมาก เพราะถ้าเราใช้ผิด ความหมายก็จะผิดไปเลย ดังนั้น น้อง ๆ ต้องหมั่นทบทวนเพื่อไม่ให้จำสลับกันนะคะ สุดท้ายนี้อย่าลืมไปรับชมและรับฟังคลิปการสอนของครูอุ้มระหว่างทบทวนเนื้อหา เพื่อพิชิตทุกโจทย์ในข้อสอบ ไปดูกันเลยค่ะ

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

Profile

การตั้งประโยคคำถามแบบมีกริยาช่วยนำหน้าและ Wh-questions

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.1 ทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดู ความแตกต่างของ ประโยคคำถามที่มีกริยาช่วยนำหน้า กับ Wh-questions กันค่ะ พร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย มารู้จักกับกริยาช่วย   Helping verb หรือ Auxiliary verb กริยาช่วย หรือ ภาษาทางการเรียกว่า กริยานุเคราะห์  คือกริยาที่วางอยู่หน้ากริยาหลัก (Main verb) ในประโยค  ทำหน้าที่ช่วยกริยาอื่นให้มีความหมายตาม

จำนวนตรรกยะ

จำนวนตรรกยะ

ในบทความนี้เราจะได้รู้จักความหมายของจำนวนตรรกยะ และการเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยมหรือทศนิยมเป็นเศษส่วน

ประวัติความเป็นมาของวรรณคดีคำสอน เรื่องสุภาษิตพระร่วง

สุภาษิตพระร่วง   คนไทยนิยมใช้สุภาษิตสั่งสอนลูกหลานกันมาตั้งแต่สมัยก่อนจนถึงปัจจุบัน เชื่อว่าน้อง ๆ หลายคนก็คงจะเคยได้ยินสุภาษิตกันมาไม่มากก็น้อย ดังนั้นบทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของสุภาษิตพระร่วง วรรณคดีอันทรงคุณค่าและเป็นวรรณคดีเล่มแรกที่แต่งคำประพันธ์เป็นร่ายโบราณแบบร่ายสุภาพ ไปศึกษาเรื่องนี้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   ความเป็นมาของสุภาษิตพระร่วง     สุภาษิตพระร่วง เป็นวรรณคดีคำสอนที่ทรงคุณค่าที่มีมาอย่างยาวนาน มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สุภาษิตบัณฑิตพระร่วง คำว่า พระร่วง ทำให้คนเข้าใจว่าอาจจะเป็นคำสอนของกษัตริย์สักคนที่มีนามว่า พระร่วง

Profile Linking Verbs

มาทำความรู้จักกับ Linking Verbs ให้มากขึ้น

สวัสดีค่ะนักเรียนม.1 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปรู้จักกับ Linking Verbs ให้มากขึ้น แต่ก่อนอื่นไปดูความหมายของ Linking Verbs กันก่อนนะคะ ไปลุยกันเลย มาทำความรู้จักกับ Linking Verbs     Linking verbs คืออะไรกันนะ Linking แปลว่า การเชื่อม มาจากรากศัพท์ link ที่เป็นกริยาเติมด้วย

ระดับภาษา เรียนรู้วิธีใช้ให้ถูกต้องและเหมาะสม

ระดับภาษา มีความสำคัญอย่างมากในภาษาไทย น้อง ๆ ทราบไหมคะว่าภาษาที่เราใช้กันอยู่ในทุกวันนี้ ก็มีระดับของมันที่จะเป็นตัวบ่งบอกความเหมาะสม ให้เราได้เลือกใช้กันอย่างถูกกาลเทศะ อยากรู้ไหมคะว่ามีกี่ระดับ แต่ละระดับเป็นอย่างไร ต้องใช้แบบไหน ใช้กับใครจึงจะถูก ถ้าพร้อมแล้ว ไปเรียนรู้บทเรียนภาษาไทยในวันนี้กันเลยค่ะ   ความหมายของ ระดับภาษา     ระดับภาษา หมายถึง ความลดหลั่นของถ้อยคำและการเรียบเรียงถ้อยคำที่ใช้โดยพิจารณาตามโอกาสหรือกาลเทศะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เป็นผู้สื่อสาร ผู้รับสาร และเนื้อหาที่สื่อสาร  

ประโยคและวิธีการใช้ Would like กับ Wh-questions

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.5 ที่รักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดูตัวอย่างประโยคและวิธีการใช้ Would like กับ Wh-questions กันค่ะ ไปลุยกันเลย ตารางเปรียบเทียบประโยคก่อนเข้าสู่บทเรียน: คำถาม Wh-questions VS Yes-no Questions ประโยคคำถามแบบ Wh-question “what” ประโยคคำถามที่ใช้ would + Subject +like…

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1