คณิตศาสตร์
จากระดับชั้น ป.4 ถึง ม.6
ติว คณิตศาสตร์ เรียนพิเศษ ออนไลน์
ประวัติการไลฟ์สอนยอดนิยม
สามารถกดย้อนดูคลิปที่เคยผ่านการไลฟ์สอนไปแล้ว เพื่อทบทวนอีกครั้ง
ข้อเด่นคณิต เน้นเก็บ 70 คะแนน สอบเข้าโรงเรียนชื่อดัง ม. 1 ห้องปกติ ตอนที่ 1
26 February 2024- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูดาว
ซัมเมอร์ ซัมอัป คณิตน่ารู้ก่อนเปิดเทอม 1 ขึ้นม. 1 ตอนที่ 1
28 March 2024- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูเจ๊หนุ่ม
- + ป. 6
ซัมเมอร์ ซัมอัป คณิตน่ารู้ก่อนเปิดเทอม 1 ขึ้นป. 6 ตอนที่ 1
26 March 2024- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูดาว
- + ป. 5
เฉลยข้อสอบจริงเข้า ม.1 สวนกุหลาบ ปี 67 ตอนที่ 1
15 May 2024- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูเจ๊หนุ่ม
- + ป. 6
ติวอัปเกรด คณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ตอนที่ 1 เรื่อง จำนวนนับ
16 May 2024- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูเจ๊หนุ่ม
- + ม. 1
ซัมเมอร์ ซัมอัป คณิตน่ารู้ก่อนเปิดเทอม 1 ขึ้นม. 2 ตอนที่ 1
27 March 2024- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูเจ๊หนุ่ม
- + ม. 1
ผลตอบรับจากผู้ใช้งานจริง
เกี่ยวกับเนื้อหาของวิชาคณิตศาสตร์
- สามารถเข้าใจลึกซึ้งในธรรมชาติของภาษาอังกฤษ
- สอนวิธีการเรียนภาษาอังกฤษ
- ทำให้บทเรียนภาษาอังกฤษน่าสนใจ
- สนุก แต่เข้าใจง่าย
- เรียนจนลืมเวลาในระหว่างบทเรียน
- คุณครูทำให้ภาษาไทยเป็นเรื่องสนุก
วิทยาศาสตร์
- เรียงลำดับเนื้อหาง่ายต่อการเรียน
- สอนละเอียดแน่นครบทุกประเด็น
- วิธีการเรียนสนุกสนาน เรียนรู้ได้ไม่มีเบื่อ
บริการของเรา
ทดลองใช้งานฟรี 3 วัน เพื่อเข้าถึงบริการของเราได้แบบไม่จำกัดวิชา!
มีบทเรียนมากกว่า 2,000+ คลิป 4,000+ แบบฝึกหัด และ ดูประวัติการไลฟ์สอน ได้ไม่จำกัด บนทุกอุปกรณ์
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
- บัตรเครดิต
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
- บัตรเครดิต
- บัตรเครดิต
- พร้อมเพย์
- โอนเงินผ่านธนาคาร
บทความวิชาคณิตศาสตร์
การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ซึ่งได้กล่าวถึงในลักษณะของความหมายและยกตัวอย่างประกอบ และอธิบายอย่างละเอียด ซึ่งก่อนจะเรียนเรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ น้องๆสามารถทบทวน ความน่าจะเป็น ได้ที่ ⇒⇒ ความน่าจะเป็น ⇐⇐ การทดลองสุ่ม การทดลองสุ่ม คือ การทดลองซึ่งทราบว่าผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นอาจจะเป็นอะไรได้บ้าง แต่ไม่สามารถบอกได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่าในแต่ละครั้งที่ทำการทดลอง ผลที่เกิดขึ้นจากการทดลองจะเป็นอะไรในบรรดาผลลัพธ์ที่อาจเป็นไปได้เหล่านั้น เช่น การโยนเหรียญซึ่งมีผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นได้ 2 แบบ คือ หัวหรือก้อย เมื่อโยนเหรียญ
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย คือ การนำประสบการณ์มาสรุปผล เช่น เราไปซื้อผลไม้แล้วเราชิมผลไม้ 2-3 ลูก ปรากฏว่า มีรสหวาน เราเลยสรุปว่าผลไม้ทั้งกองนั้นหวาน เป็นต้น ซึ่งการสรุปผลอาจจะเป็นจริงหรือเท็จก็ได้ อาจจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้สรุป ดังนั้น ผลสรุปไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน ตัวอย่างเช่น เหตุ เมื่อวานแป้งตั้งใจเรียน วันนี้แป้งตั้วใจเรียน ผลสรุป พรุ่งนี้แป้งจะตั้งใจเรียน การให้เหตุผลแบบนี้ เหมือนเป็นการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นต่อไป ซึ่งการคาดคะเนนี้อาจจะจริงหรือเท็จก็ได้
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนหนึ่งที่มีความสำคัญมากทางสถิติ เพื่อใช้ในการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ โดยข้อมูลที่ได้มีหลากหลายรูปแบบ อาจจะเป็นตัวเลข ข้อความ หรือรูปภาพ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์หรือเป็นเรื่องที่เราสนใจ โดยสามารถจำแนกข้อมูลได้ตามลักษณะและแหล่งที่มาของข้อมูล ได้แก่ จำแนกตามลักษณะของข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) คือ ข้อมูลที่วัดค่าได้ แสดงเป็นตัวเลข ซึ่งสามารถนำมาใช้เปรียบเทียบกันได้โดยตรง เช่น จำนวนบุตรในครอบครัว,