คณิตศาสตร์
จากระดับชั้น ป.5 ถึง ม.6

ติว คณิตศาสตร์ เรียนพิเศษ ออนไลน์
ประวัติการไลฟ์สอนยอดนิยม
สามารถกดย้อนดูวิดีโอที่เคยผ่านการไลฟ์สอนไปแล้ว เพื่อทบทวนอีกครั้ง
เตรียมสอบเข้า ม. 1 โรงเรียนชื่อดัง (สวนกุหลาบ, สตรีวิทยา, สามเสน)
11 February 2022- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูลูกหว้า
- + ป.5
- + ป.6
เตรียมสอบเข้า ม. 1 โรงเรียนชื่อดัง ตอนที่ 2 (สวนกุหลาบ, สตรีวิทยา, สามเสน)
18 February 2022- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูลูกหว้า
- + ป.5
- + ป.6
เตรียมสอบเข้า ม. 1 โรงเรียนชื่อดัง ตอนที่ 3 (สวนกุหลาบ, สตรีวิทยา, สามเสน)
25 February 2022- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูลูกหว้า
- + ป.5
- + ป.6
เตรียมสอบเข้า ม. 1 โรงเรียนชื่อดัง ตอนที่ 4 (สวนกุหลาบ, สตรีวิทยา, สามเสน)
4 March 2022- + คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)
- + ครูลูกหว้า
- + ป.5
- + ป.6
เกี่ยวกับเนื้อหาของวิชาคณิตศาสตร์
- สามารถเข้าใจลึกซึ้งในธรรมชาติของภาษาอังกฤษ
- สอนวิธีการเรียนภาษาอังกฤษ
- ทำให้บทเรียนภาษาอังกฤษน่าสนใจ


- สนุก แต่เข้าใจง่าย
- เรียนจนลืมเวลาในระหว่างบทเรียน
- คุณครูทำให้ภาษาไทยเป็นเรื่องสนุก
บริการของเรา
ทดลองใช้งานฟรี 3 วัน เพื่อเข้าถึงบริการของเราได้แบบไม่จำกัดวิชา!
มีบทเรียนมากกว่า 2,000+ วิดีโอ 4,000+ แบบฝึกหัด และ ดูประวัติการไลฟ์สอน ได้ไม่จำกัด บนทุกอุปกรณ์
บทความวิชาคณิตศาสตร์

ค่าสัมบูรณ์
ค่าสัมบูรณ์ ค่าสัมบูรณ์ หรือ Absolute คือค่าของระยะทางจากศูนย์ไปยังจุดที่เราสนใจ เช่น ระยะทางจากจุด 0 ถึง -5 มีระยะห่างเท่ากับ 5 เนื่องจากค่าสัมบูรณ์เอาไว้บอกระยะห่าง ดังนั้นค่าสัมบูรณ์จะมีค่าเป็นบวกหรือศูนย์เท่านั้น ไม่สามารถเป็นลบได้ นิยามของค่าสัมบูรณ์ ให้ a เป็นจำนวนจริงใดๆ จะได้ว่า และ น้องๆอาจจะงงๆใช่ไหมคะ ลองมาดูตัวอย่างสักนิดนึงดีกว่าค่ะ เช่น เพราะ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ ในบทความนี้จะกล่าวถึงฟังก์ชันที่เป็นส่วนกลับของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ และฟังก์ชันที่เกิดจากการดำเนินการของค่า cosθ sinθ ซึ่งก็คือ tanθ และ cotθ นอกจากนี้ยังจะกล่าวถึงโคฟังก์ชันของฟังก์ชันตรีโกณมิติอีกด้วย ในบทความนี้สิ่งที่น้องๆต้องรู้ก็คือ วิธีการหาค่า cosθ และ sinθ จตุภาคของพิกัดจุดปลายส่วนโค้ง ซึ่งสามารถอ่านได้ตามลิงค์ด้านล่างนี้เลยค่ะ การวัดความยาวส่วนโค้ง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ หลังจากที่น้องๆมีพื้นฐาน 2 เรื่องที่กล่าวมาแล้วเราจะเริ่มทำความรู้จักกับฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆกันค่ะ ฟังก์ชันที่เป็นส่วนกลับของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์

สัดส่วน
บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง สัดส่วน รวมทั้งโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน ซึ่งได้รวบรวมเนื้อหาและเขียนอธิบายไว้อย่างชัดเจน รวมถึงมีคลิปวิดีโอการสอน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับน้องๆ สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา แต่ก่อนจะเรียนรู้เรื่องสัดส่วนนั้น น้องๆจำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่อง อัตราส่วนของจำนวนหลายๆจำนวน สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ ⇒⇒ อัตราส่วนของจำนวนหลายๆจำนวน ⇐⇐ สัดส่วน สัดส่วน คือ ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน อัตราส่วนทั้งสองมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันหรือในทิศทางตรงกันข้ามก็ได้ ชนิดของสัดส่วน สัดส่วนมี 2 ชนิด คือ สัดส่วนตรง และ สัดส่วนผกผัน