ส่วน 10 หรือ ส่วน 1000 แปลงเป็นทศนิยมกันได้หมดถ้าสดชื่น!

จากบทความที่แล้วเราได้ทราบความสัมพันธ์ของเศษส่วนและทศนิยมไปแล้ว เชื่อว่าน้อง ๆหลายคนคงเกิดคำถามในใจว่า แล้วถ้าเจอเศษส่วนที่ตัวส่วนไม่ใช่ 10, 100 หรือ 1000 ต้องทำอย่างไร บทความนี้จะมาไขข้อสงสัยพร้อมกับแสดงวิธีคิดที่ทำให้น้อง ๆต้องพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ง๊ายง่าย!

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

บทควมนี้จะพูดถึงค่าของเศษส่วนและทศนิยมที่มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือการเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนหาร 10 หรือ 100 ลงตัว ในรูปทศนิยมนั่นเอง

หลักการเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนหาร 10 หรือ 100 ลงตัวในรูปทศนิยม

       กรณีที่ตัวส่วนไม่มีค่าเป็น  10, 100 หรือ 1000 แต่เป็นจำนวนเต็มที่สามารถหาร 10, 100 หรือ 1000 ได้นั้น เราสามารถแปลงจำนวนเต็มพวกนั้นให้เป็น 10, 100 หรือ 1000 ได้ด้วยการนำทั้งเศษและส่วนคูณด้วยจำนวนหนึ่งแล้วได้ตัวส่วนออกมาเป็น 10, 100 หรือ 1000 เพื่อที่จะทำให้สามารถเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปของทศนิยมได้

ตัวอย่างที่ 1 เศษส่วนในรูปทศนิยม

 

ตัวอย่างที่ 2เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม

 

ตัวอย่างที่ 3ส่วน10ส่วน100

หลักการเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนไม่เป็นตัวประกอบของ 10, 100 หรือ 1,000ในรูปทศนิยม

        กรณีนี้อาจจะต้องนำเศษและส่วนหารด้วยจำนวนนับหนึ่งก่อนแล้วจึงจะสามารถคูณอีกจำนวนนับหนึ่งแล้วตัวส่วนออกมาเป็น 10, 100 หรือ 1,000 ยกตัวอย่างโจทย์ได้ดังนี้

ตัวอย่างที่ 1การแปลงเศษส่วนให้เป็นทศนิยม

 

ตัวอย่างที่ 2เศษส่วนในรูปทศนิยม

 

ตัวอย่างที่ 3เศษส่วนทศนิยม

 


      สรุปการเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนไม่ใช่ 10, 100 หรือ 1,000 ให้อยู่ในรูปทศนิยม สามารถทำได้โดยต้องทำตามหลักการที่ได้อธิบายไว้ข้างบน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ 10, 100 หรือ 1,000 และเศษส่วนที่ตัวส่วนไม่ใช่ตัวประกอบของ10, 100 หรือ 1,000 หวังว่าบทความนี้จะช่วยทำให้น้องๆเข้าใจความสัมพันธ์ของเศษส่วนและทศนิยมได้มากขึ้นและสามารถทำแบบฝึกหัดได้อย่างถูกต้องนะคะ

คลิปตัวอย่างเรื่องการเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนหาร 10 หรือ 100 ลงตัว ในรูปทศนิยม

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

สถิติ (เส้นโค้งความถี่)

บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง สถิติ (เส้นโค้งความถี่)  ซึ่งก่อนที่จะเรียนเรื่องนี้ น้องๆจะต้องมีความรู้ในเรื่อง    ค่ากลางของข้อมูล และการวัดการกระจายของข้อมูล สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่  ⇒⇒ สถิติ (ค่ากลางของข้อมูล/การกระจายของข้อมูล) ⇐⇐ เส้นโค้งของความถี่ จะมีอยู่ 3 แบบ คือ เส้นโค้งปกติ เส้นโค้งเบ้ขวา และเส้นโค้งเบ้ซ้าย ซึ่งจะมีความสัมพันธ์กับค่ากลางของข้อมูล  ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (μ)   มัธยฐาน (Med) และฐานนิยม

การเขียนเรียงความ

เทคนิคการเขียนเรียงความง่าย ๆ ที่จะช่วยถ่ายทอดความคิดให้เป็นขั้นตอน

การเขียนเรียงความ เป็นทักษะการเขียนที่มีสำคัญมาก เพราะเป็นการถ่ายทอดความคิดให้ออกมาอยู่ในรูปของตัวอักษร จะมีวิธีเขียนอย่างไรบ้างนั้น บทเรียนในวันนี้จะทำให้น้อง ๆ มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการเขียนเรียงมากขึ้น จะเป็นอย่างไรนั้น ไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ     เรียงความ เป็นทักษะการเขียนที่แสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิด ความเห็น ความเข้าใจของผู้เขียน มีรูปแบบและวิธีการเขียนที่มีแบบแผน เพื่อถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นตัวอักษรให้น่าอ่าน และยังเป็นพื้นฐานของการเขียนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นบทความหรือนวนิยายอีกด้วย โดยประเภทของการเขียนเรียงความมีดังนี้ 1. เรื่องที่เขียนเพื่อความรู้ 2. เรื่องที่เขียนเพื่อความเข้าใจ

ร้อยละ

การคำนวณร้อยละในชีวิตประจำวัน

บทความนี้เราจะได้เรียนรู้ความหมายของคำว่าร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ รวมทั้งความสัมพันธ์ของอัตราส่วนที่คิดคำนวณเป็นร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ที่จะทำให้เราสามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน

ความน่าเชื่อถือของสื่อที่ฟัง

ฟังอย่างไรให้ได้สาระประโยชน์ดี ๆ ด้วยวิธีวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากสื่อที่ฟัง

บทนำ สวัสดีน้อง ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าสู่เนื้อหาในบทเรียนภาษาไทยกันอีกครั้ง สำหรับบทเรียนในวันนี้ต้องบอกว่ามีประโยชน์มาก ๆ และเราควรจะต้องศึกษาไว้เพื่อนำไปใช้ในการฟัง หรือคัดกรองสิ่งต่าง ๆ รอบตัวที่เรารับฟังมาให้มากขึ้น ซึ่งเราจะพาน้อง ๆ มาฝึกฝนการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากสื่อที่ฟังกัน เพราะในปัจจุบันเราสามารถรับสารได้หลากหลายรูปแบบมีทั้งประโยชน์ และโทษ ดังนั้น เราจึงต้องมีทักษะนี้ติดตัวไว้แยกแยะว่าสื่อนั้นมีความน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้วเรามาเริ่มเรียนกันเลย   ความหมายของความน่าเชื่อถือ และสื่อ ความน่าเชื่อถือ หมายถึง

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1