Past Time หรือ เวลาในอดีต

Past Time

สารบัญ

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.

สวัสดีค่ะนักเรียน ม.1 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดูเทคนิคและวิธีการใช้ Past Time หรือ เวลาในอดีต ซึ่งเมื่อเล่าถึงเวลาในอดีตส่วนใหญ่แล้วเรามักเจอคำว่า yesterday (เมื่อวานนี้), 1998 (ปี ค.ศ. ที่ผ่านมานานแล้ว), last month (เดือนที่แล้ว)  และกลุ่มคำอื่นๆ ที่กำกับเวลาในอดีต ซึ่งเราจะเจอ Past Time ในกลุ่ม Past Tenses หรือ อดีตกาล ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย

มาเริ่มกับ Past Tenses อดีตกาล 

 

การพูดถึงเหตุการณ์ที่เกิดในอดีตนั้นสามารถพูดได้หลายรูปแบบ แต่จะพูดอย่างไรให้สอดคล้องกับบริบทนั้นย่อมสำคัญเช่นกัน และก่อนอื่นเราจะต้องรู้จักก่อนว่า การเล่าถึงเหตุการณ์ในอดีตนั้นเราสามารถเล่าได้หลายแบบ ครูจะขอยกตัวอย่างจากสถานการณ์การใช้ไปหาโครงสร้างและคำศัพท์ที่จำเป็นเพื่อให้เราเข้าใจความสำคัญของ Tense นั้นๆ ร่วมกับเทคนิค “Situational usage” บทสนทนาที่ใช้ ใน Past Tenses ทั้งสี่รูปแบบ ไปลุยกันเลยเด้อ

 

ตารางสรุปภาพรวม Past Tenses VS คำกำกับเวลา

 

 

อดีตกาล
(Past Tenses)
การใช้
(
Usage)
โครงสร้าง
(
Structure)
คำกำกับเวลา

 

1) Past Simple Tense ใช้กับเหตุการณ์ที่เราทำในอดีตย้ำว่า

เกิดขึ้นและจบลงไปแล้ว

 

Subject + V.2 หรือ Verb เติม –ed

Ex:

Daniel ate noodles yesterday.

แดเนียลกินก๋วยเตี๋ยวเมื่อวานนี้

 

Ex:

You walked home last week.

คุณเดินกลับบ้านสัปดาห์ที่แล้ว

เวลาในอดีต 1990

3 days ago  (สามวันที่แล้ว)
last  month (เดือนที่แล้ว)
yesterday (เมื่อวานนี้)
in 1997 (ในปี ค.ศ. 1997 ที่เป็นอดีตมาแล้ว)

2. Past Continuous   Subject + was, were + V.ing

 

Ex:

Albert Einstein was sitting under the apple tree.

แปล อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ กำลังนั่งอยู่
ใต้ต้นแอปเปิล

(ซึ่งเป็นเหตุการณ์ในอดีต)

 at the moment in the past
(ณ ขณะหนึ่งในอดีต)specific time in the past
(จุดๆหนึ่งที่เฉพาะเจาะจงในอดีต)
3. Past Perfect   Subject + had + V.3

Ex: I have had breakfast recently.

แปล ฉันพึ่งทานข้าวเช้าเมื่อครู่นี้เอง

 

 

Previously (ก่อนหน้านี้)
justBefore (ก่อน)Recently (ไม่นานมานี้)Since (ตั้งแต่) + จุดๆหนึ่งของเวลาFor (เป็นเวลา) + ช่วงเวลาTill or until (จนกระทั่ง)
4. Past Perfect Continuous   Subject + had + been + V.ing

Ex:
I had been running since 5 a.m. till 6 a.m. this morning.

แปล ฉันได้วิ่งมาตั้งแต่ตีห้าถึงหกโมงเช้า (วิ่งแบบไม่หยุดเลย)

 

 Past Simple Tense

 

Past Simple Tense


(โครงสร้าง Subject + Verb 2 หรือ Verb เติม ed)
ใช้กับเหตุการณ์ หรือการกระทำที่เกิดขึ้นและจบลงในอดีต มักมีคำหรือกลุ่มคำของอดีตมากำกับเช่น yesterday, ago, last year, last month, last time

 

Situation: Rosie got diarrhea yesterday at the hospital.

Dan: Where were you yesterday Rosie? (โรซี่เมื่อวานไปไหนมาเหรอ)
Rosie: I was at the hospital. (ฉันไปโรงพยาบาลมาน่ะ)
Dan: What happened? (เป็นอะไรหรือเปล่า)
Rosie: I got diarrhea. (ฉันท้องเสีย)

จะสังเกตได้ว่า  yesterday (เมื่อวานนี้) คือคำบอกเวลาในอีต ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและจบลงไปแล้ว

Past Continuous Tense

Past Cont.Tense

 

(โครงสร้าง Subject + was, were + V.ing)

 

1) ใช้ร่วมกับ Past Simple Tense เมื่อมีเหตุการณ์ หรือการกระทำ 2 อย่างเกิดขึ้นไม่พร้อมกันในอดีต

  • Past Simple Tense ใช้กับเหตุการณ์สั้นๆ ที่เกิดขึ้นทีหลัง
  • Past Continuous Tense ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนและ กำลังดำเนินอยู่ ณ ขณะนั้น

Situation: While Dazy was watching a Netflix, her mom arrived at the door.

Mom: Knock knock! Dazy, could you open the door?
(ก้อกๆ เดซี่เปิดประตูให้แม่หน่อย)

Mom: (Complaining) what was she doing?
(แม่บ่น…เธอกำลังทำอะไรอยู่นะ)

Dazy: Wait mom, I was waching a Netflix.
(รอก่อนนะแม่ หนูกำลังดู Netflix อยู่)

 

2) อย่างที่กำลังดำเนินอยู่ในอดีตในเวลาเดียวกัน

Situation: Venus was playing her mobile phone, while her teaching was teaching.

Ohm: What were you doing Venus while your teacher was teaching? (วีนัส เธอทำอะไรอยู่ตอนที่ครูกำลังสอน)
Venus: Um…I was playing on my mobile phone. (เอิ่ม ฉันเล่นโทรศัพท์อยู่นะ)
Ohm: No wonder why teacher was very mad at you. (ไม่น่าล่ะ ครูโกรธใหญ่เลย)

Past Perfect Tense

Past Perfect tense

 

ในโครงสร้าง Subject + had + Past participle (V.3)
ใช้กับเหตุการณ์ หรือการกระทำ 2 อย่างที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดแล้วลงในอดีต

  • เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนให้ใช้ Past Perfect Tense
  • เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทีหลังให้ใช้ Past Simple Tense

Situation: Nanny is talking to her friend, Chris.

Nanny: Have you been to the USA? (คุณเคยไปประเทศสหรัฐอเมริกามั้ย)
Chris: Of course, I went to the USA but previously I had been to London.
(แน่นอน ฉันเคยไปนะ แต่ก่อนหน้านั้นฉันก็เคยไปลอนดอนมาก่อน)
Nanny: You must be very rich! (เธอคงรวยมากเลย)
Chris: I am not rich, but my parents are. (ไม่หรอก แต่พ่อแม่ฉันน่ะรวยจริง)

 

 

Past Perfect Continuous Tense

 

Past Time

 

ตามโครงสร้าง Subject + had + been + V. ing

Past Perfect Continuous Tense  จะเน้นความต่อเนื่องของเหตุการณ์
หรือการกระทำได้ดีกว่า Past Perfect Tense

 

Situation: Interviewing Mark Zuckerberg, the co-founder of Facebook

Interviewer: What’s your secret of becoming so “successful”?

= ความลับที่ทำให้คุณประสบความสำเร็จคืออะไร

Mark Zuckerberg: I’ve been working hard on my dream.
= ผมทำงานหนักเพื่อความฝันของผม (อย่างต่อเนื่องไม่หยุดหย่อน หรือพักเลย)

 

แบบทดสอบด้านล่าง เรื่อง Past Tenses and Past Time (อย่าพึ่งเปิดดูเฉลยนะคะ)

 

แบบทดสอบเรื่อง Past tenses VS Past time

1) Lukas ………..singing a song …………

 

  1. started, last year
  2. start, yesterday
  3. starting, last week
  4. have started, 3 days ago

 

2) As soon as Romans and his family …………it started to rain.

 

  1. left
  2. leaves
  3. leave
  4. is leaving

 

3) Timothy ate dinner first and then……….her dog………………

 

  1. walk, tomorrow
  2. walked, yesterday
  3. would walking, last week
  4. was walking, last month

 

4) When the dentist arrived, Tina …………… for six hours. She ………..to get angry.

 

  1. waited, begin
  2. has waited, began
  3. had been waiting, began
  4. was waiting, begun

 

5) The soccer player …………a football until ………….

 

  1. wasn’t playing, last year
  2. didn’t play, last week
  3. doesn’t play, yesterday
  4. had never played, last 3 days

 

6) Rosie ……….on her coat and went out.

 

  1. put
  2. puted
  3. was putting
  4. had put

 

7) Tan was talking on the phone while his sister ………………dancing on Tiktok.

 

  1. have been
  2. was
  3. has been
  4. had

 

8) Daniel …………..to eat out but he decided to eat at his home instead.

 

  1. is going
  2. had planned
  3. planned
  4. was planning

 

9) The plane …………. by the time he got to the airport.

 

  1. left
  2. had left
  3. leaves
  4. was leaving

 

10) Robin …………………….Australia before she moved to Thailand.

 

  1. had been living
  2. was living
  3. lived
  4. lives

 

 

 

Answering

เฉลย

1) A
2) A
3) B
4) C
5) D
6) A
7) B
8) B
9) B
10) A

 

ขอให้สนุกกับการทบทวนบทเรียนกันนะคะ อย่าลืมทบทวนบทเรียนเรื่อง Past Simple Tense กับวีดีโอด้านล่างนะคะ ซึ่งทั้งอัลบั้มนี้มีให้ทบทวนบทเรียนเกือบทุกเรื่องในภาษาอังกฤษบนยูทูปฟรีๆ เลยจร้า

Have a good day! ขอให้มีวันที่ดีค่า
See you next time! แล้วเจอกันค่า

 

 

 

 

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

Add LINE friends for one click to find article. Add LINE friends for one click to find article.
ครูผู้สอน NockAcademy

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

แนะนำ

แชร์

ตัวประกอบของจำนวนนับ

ตัวประกอบของจำนวนนับ ป.6

บทความนี้จะให้ความรู้เกี่ยวกับตัวประกอบของจำนวนนับ น้องๆชั้นป.6 จะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของตัวประกอบ รวมไปถึงวิธีหาตัวประกอบของจำนวนนับนั่นเอง

อิเหนา

อิเหนา จากนิทานปันหยีสู่วรรณคดีเลื่องชื่อของไทย

อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ถูกเผยแพร่เข้ามาในไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา น้อง ๆ สงสัยไหมคะว่าจุดเริ่มต้นของนิทานของชาวชวานี้มีจุดเริ่มต้นในไทยอย่างไร เหตุใดถึงถูกประพันธ์ขึ้นเป็นบทละครให้ได้เล่นกันในราชสำนัก ถ้าน้อง ๆ พร้อมหาคำตอบแล้ว เราไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาและเรื่องย่อของอิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิงกันเลยค่ะ   ความเป็นมา   อิเหนามีความเป็นมาจากนิทานปันหยี หรือที่เรียกว่า อิเหนาปันหยีรัตปาตี ซึ่งเป็นนิทานที่เล่าแพร่หลายกันมากในชวา เชื่อกันว่าเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ของชวา ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 16 ปรุงแต่งมาจากพงศาวดารชวา อิทธิพลของเรื่องอิเหนาเข้ามาในประเทศไทยครั้งแรกในสมัยอยุธยา จากการที่เจ้าฟ้าหญิงกุณฑลและเจ้าฟ้าหญิงมงกุฎ

โวหารภาพพจน์ กลวิธีการสร้างจินตภาพที่ลึกซึ้งและสวยงาม

การสร้างจินตภาพอย่างการใช้ โวหารภาพพจน์ เป็นกลวิธีในการใช้ภาษาอีกอย่างหนึ่ง เลือกใช้ถ้อยคำเพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพ หรืออาจเรียกว่าเป็นการแทนภาพนั่นเอง น้อง ๆ คงจะพบเรื่องของโวหารภาพพจน์ได้บ่อย ๆ เวลาเรียนเรื่องวรรณคดี บทเรียนในวันนี้เลยจะพาไปทำความรู้จักกับภาพพจน์ต่าง ๆ ให้มากขึ้นว่ามีอะไรบ้าง ถ้าพร้อมแล้วไปดูพร้อมกันเลยค่ะ   ความหมายของภาพพจน์     ภาพพจน์ คือถ้อยคำที่เป็นสำนวนโวหารทำให้นึกเห็นภาพ ถ้อยคำที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด เป็นกลวิธีทางภาษาที่มุ่งให้เกิดความรู้ความเข้าใจจินตนาการ เน้นให้เกิดอรรถรสและสุนทรีย์ในการสื่อสารที่ลึกซึ้งกว่าการบอกเล่าแบบตรงไปตรงมา  

การใช้คำ

เรียนรู้และทำความเข้าใจการใช้คำในภาษาไทยอย่างง่ายๆ

การใช้คำในภาษาไทย มีความสำคัญมาก แม้ว่าน้อง ๆ จะคุ้นเคยกับภาษาไทยดีในระดับหนึ่งแล้ว แต่แน่ใจหรือเปล่าคะว่าใช้คำกันได้อย่างถูกต้องแล้ว เพราะการใช้คำให้ถูกก็ถือเป็นเรื่องสำคัญค่ะ ดังนั้นบทเรียนหลักภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้เรื่องการใช้คำต่าง ๆ ได้ถูกต้องกันค่ะ จะมีอะไรบ้างไปเรียนรู้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   การใช้คำ     การใช้คำกำกวม   คำกำกวม คือ การใช้คำหรือภาษาที่มีความหมายไม่ชัดเจน เป็นเหตุให้การสื่อสารผิดพลาด

กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น ปก

กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น

บทความนี้จะเป็นการสอนวิธีการเขียน กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น ซึ่งทำได้โดยการหาความสัมพันธ์ของจำนวนสองจำนวน เขียนให้อยู่ในรูปคู่อันดับ และเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ข้างต้น ซึ่งน้องๆสามารถศึกษาการเขียนกราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้นเพิ่มเติมได้ที่  ⇒⇒ กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น ⇐⇐ คู่อันดับ กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น เขียนแสดงความเกี่ยวข้องของปริมาณสองปริมาณที่กำหนดให้ โดยความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณที่พบในชีวิตประจำวัน เช่น ปริมาณของน้ำประปาที่ใช้กับค่าน้ำ ปริมาณเวลาในการใช้โทรศัพท์กับค่าโทรศัพท์ ระยะทางที่โดยสารรถประจำทางปรับอากาศกับค่าโดยสาร ปริมาณของกระแสไฟฟ้ากับค่าไฟฟ้า เป็นต้น เราสามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์เหล่านี้ในรูปตาราง แผนภาพ คู่อันดับ รวมทั้งแสดงในรูปของกราฟได้ ซึ่งในหัวข้อนี้ เราจะทำความรู้จักกับคู่อันดับกันก่อนนะคะ

เห็นแก่ลูก ศึกษาความเป็นมาบทละครพูดเรื่องแรกของไทย

  บทละครพูด เห็นแก่ลูก เป็นวรรณคดีเรื่องแรกที่น้อง ๆ ม.3 ทุกคนจะได้เรียน ความพิเศษของวรรณคดีไทยเรื่องนี้คือเป็นบทละครพูดเรื่องแรกของไทยอีกทั้งยังได้รับการแปลไปยันต่างประเทศอีก 13 ภาษา วรรณคดีเรื่องนี้มีความสำคัญและมีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร ถึงโด่งดัง เป็นที่รู้จัก และได้มาอยู่ในแบบเรียนภาษาไทย ถ้าพร้อมแล้วเราไปศึกษาประวัติความเป็นมาของวรรณคดีเรื่องนี้กันเลยค่ะ   ความเป็นมา บทละครพูด เห็นแก่ลูก     บทละครพูด เห็นแก่ลูก เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้พระนามแฝงว่าพระขรรค์เพชร

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1 

โลโก้ NockAcademy

ทดลองฟรี!

เข้าใจได้ทันที NockAcademy ไลฟ์สดอันดับ 1